Page 28 - BookHISTORYFULL.indb
P. 28

๕. กำรด�ำเนินงำนพัฒนำกำรเรียนกำรสอนประวัติศำสตร์ เป็นไปตำมหลักกำร

          เรียนรู้ทำงสังคมศึกษำ
                      หลักการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา ที่น�ามาใช้ได้แก่  การเรียนรู้ควรเริ่มจาก
                       ิ
           ื
                         ี
                                                   ิ
                                                     ี
                                   ิ
                                     ี
          เร่องใกล้ตัวไปหาส่งท่ไกลตัว จากส่งท่เป็นรูปธรรมก่อนส่งท่เป็นนามธรรม การเรียนการสอน
          โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ หมายความว่าใช้ฐานข้อมูลของนักเรียนและ
          บริบททางสังคมของนักเรียนเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยมีกรอบของ
          หลักสูตรเป็นแนวทางในการพัฒนาของแต่ละชั้นปี
                      ในการน้ ศาสตราจารย์ ดร. เอกวิทย์ ณ ถลาง ได้เสนอแนะไว้ในการสัมมนา
                            ี
          เรื่องทิศทางการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทย มีสาระสรุปว่า   “การที่จะ
          ให้นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ต้องค�านึงถึงระดับ
                                                                 �
          ความพร้อม วุฒิภาวะและประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นองค์ประกอบสาคัญและควรให้
                         ื
                         ่
                        ู
                    ี
                                                                      ื
                                             ิ
                                                     ี
                                                               ี
                                                         ู
                                                                      ่
                                ั
                                                                            ั
                                           ิ
                                        ั
              ี
          นกเรยนได้เรยนร้เรองใกล้ตว ตามหลกจตวทยาการเรยนร้ โดยเรยนให้เชอมโยงกน
           ั
          จนกระทั่งเข้าใจโลกในส่วนรวม” (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๓๙ : ๒๒-๒๓)
                      ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ ได้น�าเสนอว่า  “การจัดการเรียนการสอนที่เน้น
                                           ี
          ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ วิธีการสาคัญท่สามารถสร้างและพัฒนา “ผู้เรียน” ให้เกิด
                                      �
                          ี
          คุณลักษณะต่างๆ ท่ต้องการในยุคโลกาภิวัตน์ เน่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอน
                                                 ื
                                                                    ี
          ท่ให้ความสาคัญกับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเต็มท่” (วัฒนาพร
           ี
                  �
          ระงับทุกข์, ๒๕๔๒ : ๔)
                      ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร ได้เสนอว่า “แนวการเรียนการสอนประวัติศาสตร์
                                   ึ
          ควรเน้นหลักการของเสรีนิยม ซ่งสอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน การสอนตามหลัก
          เสรีนิยมจะช่วยพัฒนาศักยภาพความคิดริเริ่ม การใช้เหตุผลที่อยู่ในตรรกวิสัย  เป้าหมาย
          ของการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ควรอยู่ท่การกระตุ้นกระบวนการความคิดมากกว่า
                                             ี
          ความจ�า” (ส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒: ๔)
                                              ั
                                                ิ
                                            �
                            �
                 ตามหลักการดาเนินงานดังกล่าว สานกวชาการและมาตรฐานการศึกษาจึงได้ม ี
                   �
                        ี
          เจตนารมณ์สาคัญท่จะให้นักเรียนระดับประถมศึกษำได้เรียนรู้สาระสาคัญในประวัติศาสตร์
                                                             �
                                                             ิ
                                                  ี
                                     ี
                                   ิ
                       ิ
          โดยนักเรียนได้เร่มเรียนรู้จากส่งท่เป็นรูปธรรม ท่มีอยู่ในท้องถ่นอันเป็นการเปิดโลก
          ประวัติศาสตร์ให้แก่เด็ก ในโลกของท้องถิ่นของตนเอง โลกของชุมชนและขยายการเรียนรู้
                                                                 ั
                                                                   ี
          ให้กว้างขวางออกไป ให้เห็นภาพของพัฒนาการของชาติไทยในภาพรวม ท้งน้เป็นการเรียนร ู้
          เนื้อหาสาระเพียงสังเขปเท่านั้น เพื่อให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะของเด็ก เป็นการ “จุดไฟใฝ่รู้”
           ึ
                                             ื
                  ี
          ซ่งไม่ใช่อยู่ท่การยัดเยียดข้อมูลและรายละเอียดเน้อหาให้แก่เด็กท่อยู่ในวัยเล่น อยากรู้อยากเห็น
                                                        ี
          และอยากส�ารวจโดยธรรมชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ : ๒๙)
    26
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33