Page 23 - BookHISTORYFULL.indb
P. 23
รัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรในขณะนั้น (นายวรากรณ์ สามโกเศศ) ในฐานะ
�
�
�
ผู้มีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบาย กากับดูแลการจัดการศึกษาของกระทรวง
ศึกษาธิการ ก็ได้รับรู้ข้อมูลเก่ยวกับผลการเรียนรู้ท่เป็นปัญหาดังกล่าว ท้งจากการรับฟัง
ั
ี
ี
ี
ี
จากผู้ท่เก่ยวข้องและการตรวจเย่ยมสถานศึกษาด้วยตนเองอย่างต่อเน่อง ก็เห็นพ้อง
ี
ื
กับข้อมูลจากส่วนอื่นๆ ดังปรากฏในค�าให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนว่า
“จากการที่ พล.อ. พิจิตร กุลละวณิชย์ องคมนตรีได้แสดงความห่วงใยเกี่ยวกับ
การท่นักเรียน เรียนวิชาประวัติศาสตร์น้อยลง แม้แต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ยัง
ี
�
้
ี
ไม่รู้จัก มารู้จักตอนท่สร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว รวมท้งพันท้ายนรสิงห์ ก็รู้จักเป็นนาพริก
ั
ึ
ี
ย่ห้อหน่งเท่าน้น นอกจากน้ยังได้รับจดหมายสอบถามจากผู้ปกครองว่าปัจจุบันโรงเรียน
ั
ี
ี
ี
ไม่มีการสอนวิชาประวัติศาสตร์ หน้าท่พลเมืองท่ดีและศีลธรรมแล้วหรือ เพราะเด็ก
ส่วนใหญ่ก็ไม่รู้จักบุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์และไม่รู้จักการเป็นพลเมืองท่ดี รวมถึง
ี
�
�
ึ
ยังขาด คุณธรรม ศีลธรรม ซ่งตนเองก็เกิดคาถามเช่นกัน...” (สานักงานเลขาธิการ
�
สภาการศึกษา, ๒๕๕๑ หน้า ๓)
่
ิ
ั
ิ
ิ
่
ี
ี
ุ
ี
่
�
่
ประวัติศำสตร์ เป็นศาสตร์ทเกยวข้องกบสงทมนษย์คดและกระทา ตามมต ิ
ของเวลา ประวัติศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ท่ศึกษาประสบการณ์ของมนุษย์ได้ดีกว่าศาสตร์
ี
ี
ื
�
�
แขนงอ่น ท้งยังเป็นวิชาพ้นฐานสาคัญของการเรียนรู้ โดยทาหน้าท่เช่อมศาสตร์ท้งสามสาขา
ื
ั
ั
ื
คือ มนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า พื้นฐาน
ความรู้และความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ จะเป็นรากฐานส�าคัญของการเข้าในปัญหาต่างๆ
ว่าเกิดข้นได้อย่างมีเหตุผล มาตรการในการแก้ไขปัญหาก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ึ
�
ิ
และเหมาะสมเพ่มมากข้น ในขณะเดียวกันการกระทาหรือการตัดสินใจใดๆ ท่มิได้ต้งอยู่
ี
ึ
ั
บนพ้นฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์แล้วมักจะผิดพลาดได้ง่าย วิชาประวัติศาสตร์จึงเป็น
ื
ศาสตร์ที่ส�าคัญยิ่งในการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ี
ในด้ำนเน้อหำ การสอนประวัติศาสตร์ท่ดีจะเท่ากับเป็นการวางรากฐานให้นักเรียน
ื
ี
ั
มีความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักถึงผลกระทบของอดีตท่มีต่อปัจจุบันท้งในระดับ
ชุมชนและระดับสังคมโลก
ในด้ำนกำรเสริมสร้ำงภูมิปัญญำและทักษะด้ำนมนุษยศำสตร์ การสอน
ี
ั
ประวัติศาสตร์ตามข้นตอนท่ถูกต้อง จะเป็นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด จัดระบบ
ั
ั
ั
ิ
ความคดไปพร้อมกบการใช้ภาษา ด้วยการจดระบบข้อเทจจรงให้สมพนธ์กบมตเวลา
ิ
ิ
ั
ิ
ั
็
สถานท บคคลสาคญและเหตการณ์ต่างๆ ในลกษณะทสามารถอธบายให้เข้าใจได้อย่าง
ั
่
ี
ิ
ั
ี
ุ
�
ุ
่
น่าสนใจ
21