Page 22 - BookHISTORYFULL.indb
P. 22
ื
ี
ื
ู้
่
ู
การสอนจึงเน้นท่ข้อมลเน้อหาเป็นหลัก แต่ส่อการเรียนรด้านอนๆ เช่น ส่อบุคคล (นักวิชาการ
ื
ื
ในท้องถ่น ปราชญ์ และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่น ผู้เฒ่า
ิ
ิ
ิ
พระสงฆ์ นักบวช) แหล่งการเรียนรู้ในท้องถ่น (ศูนย์วัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์) ไม่ได้ถูก
ั
ื
�
นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ท้งส่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท่มีอยู่
ี
ู
ยังไม่น่าสนใจ ขาดสีสนและไม่น่าเรียนร้ (รายงานโครงการพัฒนาการเรยนการสอน
ั
ี
ประวัติศาสตร์, ๒๕๕๑ : ๑)
อน่งด้วยภาวะปัจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีและการส่อสารในยุคโลกาภิวัตน์
ึ
ื
ท่ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายได้รวดเร็วและกว้างขวางน้น ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมไทย
ี
ั
ี
ั
และวิถีชีวิตแบบไทยอย่างรุนแรง เกิดการเปล่ยนแปลงท้งทางด้านภาษา ค่านิยม พฤติกรรม
และทัศนคติของคนในสังคมอย่างมาก แม้ว่าก่อให้เกิดผลดี คือ ท�าให้สังคมไทยมีลักษณะ
เป็นสากลหรือตะวันตกมากข้น แต่ผลกระทบของกระบวนการโลกาภิวัตน์โดยตรง คือ
ึ
�
การทาลายวัฒนธรรมท่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยและสภาพสังคมไทยได้เส่อมโทรมลง
ื
ี
ส่งผลให้เกิดความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย กระแสวัตถุนิยมและบริโภคนิยมได้ครอบงาวิถีไทย
�
ี
�
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถ่น ท่สาคัญคือ ความไม่สนใจหรือความไม่เข้าใจ
ิ
ึ
ความเป็นชาติไทยท่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านานและไม่รู้จักซาบซ้งและความภาคภูมิใจ
ี
ในประวัติศาสตร์ชาติไทย (กรมวิชาการ, ๒๕๔๓ : ๔ )
ซ่งแนวคิดดังกล่าวน้สอดคล้องกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำต ิ
ึ
ี
ี
ฉบับท่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) ได้กล่าวถึงผลการพัฒนาประเทศในช่วงกว่าส่ทศวรรษ
ี
ที่ผ่านมาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ - ฉบับที่ ๙ ว่า
ี
“...การท่ระบบเศรษฐกิจและสังคมไทยเปิดกว้างสู่ โลกาภิวัตน์ โดยเน้นการเติบโต
ื
ื
ี
ั
ั
ทางเศรษฐกิจ เพ่อสร้างความม่งค่งและรายได้ของประเทศ ขณะท่การเล่อนไหล
ี
ของวัฒนธรรมอย่างไร้พรมแดนเข้าสู่สังคมไทย โดยขาดภูมิคุ้มกันในการกล่นกรองท่ด ี
ั
ได้ส่งผลกระทบต่อระบบคุณค่า ความเชอ พฤติกรรมการดารงชีวิตและการปฏิสัมพันธ์
�
ื
่
ในสังคมไทยให้ปรับเปล่ยนไปจากเดิม คนไทยมีค่านิยมและพฤติกรรมท่เน้นวัตถุนิยม
ี
ี
�
ิ
และบริโภคนิยมเพ่มมากข้น ขาดจิตสานึกสาธารณะให้ความสาคัญส่วนตนมากกว่าส่วนรวม
�
ึ
�
ิ
การให้คุณค่าและศักด์ศรีของความเป็นคนและการยึดหลักธรรมในการดารงชีวิต
เริ่มเสื่อมถอยลง วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของชาติ ถูกละเลย...”
กระแสของสังคมท่สะท้อนต่อการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ชาติไทยมีมา
ี
ื
อย่างต่อเน่องว่านักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจ และความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทย
ั
รวมท้งยังไม่สามารถประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักศีลธรรมและหลักศาสนาได้ดี นอกจากน้ ี
20