Page 25 - BookHISTORYFULL.indb
P. 25
ื
๓. ส่งเสริมสนับสนุนส่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แก่สถานศึกษาอย่างหลากหลาย
ื
ื
ั
ท้งส่อส่งพิมพ์ และส่อเทคโนโลยี เช่น หนังสือเรียน คู่มือการจัดกิจกรรม ส่อห้องเรียน
ิ
ื
เสมือนจริง (virtual field trip)
๔. ส่งเสริมให้มีเครือข่ายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ทุกระดับ
บทบำทของส�ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
๑. ด�าเนินการจัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในพื้นที่
๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมและมีผลงานการ
พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
๓. ติดตามก�ากับดูแลให้มีการพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
บทบำทของสถำนศึกษำ
๑. จัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ สัปดาห์ ๑ คาบ
๒. จัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์และศักยภาพแก่ผู้เรียนด้วยวิธีการท่หลาก
ี
�
หลาย ให้ผู้เรียนตระหนักและเห็นความสาคัญของความเป็นมาของชาติไทย และเอกลักษณ์
ความเป็นไทย
๓. ติดตามประเมินผลการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ั
ื
�
การดาเนินการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานในการพัฒนาการ
�
�
เรียนรู้ประวัติศาสตร์มาอย่างต่อเน่อง โดยได้ดาเนินกิจกรรมต่างๆไปพร้อมๆกันในกิจกรรม
ื
หลัก ๔ กิจกรรม คือ
๑. การพัฒนาหลักสูตรและการบริหารจัดการ การใช้หลักสูตรในสถานศึกษา
๒. การพัฒนาครู ศึกษานิเทศก์ และกระบวนการเรียนการสอนประวัติศาสตร์
�
๓. การพัฒนาผู้เรียนให้ตระหนัก และเห็นความสาคัญของความเป็นมาของชาต ิ
ไทยและเอกลักษณ์ความเป็นไทย
๔. การพัฒนา สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจและมีประสิทธิภาพ
กรอบแนวคิดและหลักกำรด�ำเนินงำน
ี
้
ั
ั
ิ
ในการดาเนนงานพฒนาการเรยนการสอนประวตศาสตร์นนได้ใช้ทฤษฏ ี
ิ
�
ั
ทางสังคมศาสตร์เป็นกรอบความคิดและเป็นหลักในการด�าเนินงานดังนี้
๑. การพัฒนาหลักสูตรและการบริหารจัดการหลักสูตรในสถานศึกษา
การปรับปรุงหลักสูตร หรือการพัฒนาหลักสูตรไม่ว่าจะเป็นรายวิชาใดก็ตาม
ี
ถือว่าเป็นส่งจาเป็น ท้งน้เพ่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคมท่เปล่ยนแปลงไป
ี
ิ
ั
ี
�
ื
ั
�
การพัฒนาหลักสูตรของแต่ละประเทศน้น ได้มีการกาหนดจุดหมายและจุดประสงค์ของ
23