Page 59 - BookHISTORYFULL.indb
P. 59

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระ

                     สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
                                                                                    ื
                                                                                  ั
                            กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน
                     พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยได้ระบุเจตนารมณ์ไว้ว่า
                                           ื
                                         ั
                                                                       ี
                       ื
                     เพ่อให้การจัดการศึกษาข้นพ้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปล่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
                     สังคมและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ เป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ
                     การศึกษา ให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพใน
                     การแข่งขัน และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสานึก
                                                                                     �
                     ในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดม่นในการปกครอง
                                                �
                                                                           ั
                     ระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นไปตามเจตนารมณ์มาตรา
                     ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติการ

                     ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (ค�าสั่งกระทรวง
                     ศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑)
                            สาระประวัติศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช
                                                                         ื
                                                                       ั
                     ๒๕๕๑ ยังคงไว้ซึ่งหลักการส�าคัญของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในมาตรฐานการเรียนรู้ ๓
                                  ี
                                                    �
                                                                ั
                     มาตรฐาน ดังท่กล่าวมาแล้ว โดยได้กาหนดตัวช้วัดช้นปี ในระดับประถมศึกษาและ
                                                            ี
                                          ี
                                                                           ื
                     มัธยมศึกษาตอนต้นและตัวช้วัดช่วงช้นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่อให้ใช้เป็นทิศทาง
                                                ั
                                                                             �
                                                                        ั
                     ในการจัดทาหลักสูตรและการเรียนการสอนในแต่ละระดับนอกจากน้นได้กาหนดโครงสร้าง
                             �
                                                              ั
                                ่
                     เวลาเรียนข้นตาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละช้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลางและเปิด
                             ั
                                �
                                                                                  ั
                     โอกาสให้สถานศึกษาเพ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้งได้ปรับ
                                        ิ
                     กระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับและเอกสารแสดง
                     หลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และมีความชัดเจนต่อ
                     การน�าไปปฏิบัติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑:๒ )
                                                  ิ
                                                                               ี
                                                        ื
                             ั
                                ี
                            ท้งน้ได้มีการปรับปรุงและเพ่มเติมเน้อหาสาระประวัติศาสตร์ใหม่ท่ปรากฏในตัว
                     ช้วัดช้นปี และตัวช้วัดช่วงช้น ซ่งไม่เคยปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้นในหลักสูตร
                                         ั
                                                                              ั
                                   ี
                                             ึ
                      ี
                         ั
                     การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔    เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ให้ชัดเจน และ
                                ึ
                              ิ
                     เหมาะสมย่งข้นในสถานการณ์ปัจจุบันท่เป็นโลกแห่งข้อมูลข่าวสาร โลกของกระแส
                                                     ี
                     วัฒนธรรมของประเทศที่มั่งคั่งทางเศรษฐกิจซึ่งอาจท�าลายวัฒนธรรมไทย และค่านิยมอัน
                     ดีงามต่างๆ ของไทยได้   รวมทั้งการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจประเทศเพื่อน
                                                                                   ี
                                         ื
                                                                       ื
                     บ้าน และภูมิภาคอื่นๆ เพ่อให้รู้เท่าทันและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นในสังคมโลกท่มีความ
                     แตกต่างทางวัฒนธรรมได้อย่างสันติสุข
                                                                                            57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64