Page 63 - BookHISTORYFULL.indb
P. 63
ช้น ป.๖ ศกษาความหมายและความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ
ึ
ั
�
และใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ตนสนใจได้
ช้น ม.๑ ฝึกทักษะการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษาเหตุการณ์ทาง
ั
ประวัติศาสตร์ที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตนเอง สามารถวิเคราะห์หลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง
ื
ช้น ม.๒ ฝึกทักษะการประเมินความน่าเช่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ั
ื
ในลักษณะต่างๆ วิเคราะห์ แยกแยะ ตีความและประเมินความน่าเช่อถือของข้อมูลจาก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
�
ช้น ม.๓ ฝึกทักษะการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษาเหตุการณ์สาคัญทาง
ั
ประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล
�
ช้น ม.๔–๖ ฝึกทักษะการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ตามลาดับข้นตอนอย่างเป็น
ั
ั
ื
ระบบ สืบค้นเร่องราวท่ตนสนใจและสร้างความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ จัดทาเป็นโครงงาน
ี
�
ทางประวัติศาสตร์ได้
�
จะเห็นว่า หลักสูตรได้กาหนดให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
ี
ั
ื
ื
สืบค้นเร่องราวในอดีต ในทุกช้น โดยตัวช้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางจะเน้นเน้อหา
ี
�
ตามระดับ ความยากง่าย และความลุ่มลึกแตกต่างกัน ทักษะดังกล่าวน้เป็นทักษะจาเป็น
ื
ในการดาเนินชีวิตในโลกยุคข้อมูลข่าวสาร เพ่อให้ผู้เรียนสามารถแยกแยะข้อเท็จหรือข้อจริง
�
ี
ข้อคิดเห็นหรือข้อสันนิษฐานท่ปรากฏในข้อมูลสารสนเทศต่างๆ รวมท้งประเมินความน่า
ั
เชื่อถือของข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายได้
ื
�
ี
ื
เคร่องมือสาคัญสาหรับผู้เรียนในเร่องน้ประกอบด้วย ปฏิทิน หนังสือพิมพ์
�
อินเทอร์เน็ต เอกสารประวัติศาสตร์ แบบส�ารวจ แบบสอบถามและวิธีการศึกษาอย่างเป็น
ั
ึ
ี
ระบบ เพ่อสืบค้นเร่องราวท่เกิดข้นรอบตัวผู้เรียนท้งท่ผ่านมาแล้ว และเหตุการณ์ปัจจุบัน
ี
ื
ื
แหล่งเรียนรู้น่าจะเป็นผู้รู้ บ้าน ตลาด วัดหรือศาสนสถาน ศูนย์วัฒนธรรมและแหล่ง
ภูมิปัญญาในชุมชน ส่วนหนังสือเรียนมีบทบาทเป็นเพียงข้อมูลและหลักการกว้าง ๆ ผู้เรียน
ู
ี
ั
ี
ู
ี
จะบรรลจดม่งหมายตามหลกสตรได้หรอไม่ ขนอย่กบกระบวนการเรยนร้ทผ้เรยนได้
ู
่
ื
ุ
้
ั
ุ
ู
ึ
ุ
ผ่านการปฏิบัติจริงจากการจัดการเรียนรู้ ท่ผู้สอนได้จัดให้ผู้เรียนฝึกทักษะหลายด้าน
ี
เช่น การสอบถาม การสังเกต การส�ารวจ การวิเคราะห์ / วิพากษ์ข้อมูล การสังเคราะห์
�
ั
ุ
ู
ิ
ู
ี
การสร้างความร้ใหม่ การให้เหตผล ฯลฯ บทบาทสาคญจงอย่ทครและเทคนคการจด
่
ู
ั
ึ
ี
ั
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ไม่ควรจากัดอยู่ในห้องเรียน ผู้รู้ก็ไม่ใช่ครูหรือหนังสือเรียนเท่าน้น
�
วิธีการเรียนรู้ ก็ไม่ใช่การอ่าน การฟัง การจดและจ�าให้แม่นย�า เหมือนอดีตที่ผ่านมา
61