Page 62 - BookHISTORYFULL.indb
P. 62

ชั้น ป.๒ เป็นเวลาที่ปฏิทินที่แสดงเหตุการณ์ส�าคัญในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต

          และใช้ค�าที่แสดงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้
                 ชั้น ป.๓ ท�าความเข้าใจเรื่องศักราชในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ราช (และ
          ฮิจเราะห์ศักราช ส�าหรับชาวมุสลิม) และเทียบศักราชได้
                 ชั้น ป.๔ การใช้ช่วงเวลา ๑๐ ปี, ๑๐๐ ปี ที่เรียกว่า ทศวรรษ ศตวรรษ และ

          สหัสวรรษ และการแบ่งยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ และช่วงสมัยใน
          การศึกษาประวัติศาสตร์ไทย
                 ชั้น ป.๕ และ ป.๖ หลักสูตรไม่ได้ก�าหนดให้เรียนเรื่องเวลา
                 ชั้น ม.๑ เป็นการศึกษาวิเคราะห์ความส�าคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์

          และการเทียบศักราชตามระบบต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย
                 ชั้น ม.๒ และม.๓ หลักสูตรไม่ได้ก�าหนดให้เรียนเรื่องเวลา
                 ชั้น ม.๔ – ม.๖ ก�าหนดให้ศึกษาเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏใน
                                                                   ี
                                                      ี
          เอกสารประวัติศาสตร์ไทย และประวัติศาสตร์สากล ท่แสดงถึงการเปล่ยนแปลงและ
          พัฒนาการของมนุษยชาติ
                                    ี
                            �
                                                                         �
                 จะเห็นว่าการกาหนดตัวช้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง จะเป็นการกาหนด
                                                                 ้
                                                                 �
                                                ึ
                                                                          ื
               ื
          สาระเน้อหาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์อย่างชัดเจน ซ่งจะเป็นการลดความซาซ้อนของเน้อหา
          ที่เป็นปัญหาในการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และเป็นเนื้อหา
          ที่ไม่จ�าเป็นต้องเรียนทุกชั้นปี
                                                         �
                       ื
                 สาระเร่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นเร่องสาคัญและถือเป็นหัวใจของ
                                                      ื
                                                               ี
          การศึกษาประวัติศาสตร์ หลักสูตรจึงได้กาหนดเน้อหา และทักษะท่ต้องฝึกฝนผู้เรียน
                                                 ื
                                           �
          ทุกชั้นปี จากเรื่องง่ายที่ใกล้ตัวไปสู่เรื่องที่ซับซ้อน และไกลตัวออกไป
                                                      ื
                 ช้น ป.๑  ฝึกทักษะการสอบถามและการบอกเล่าเร่องราวของตนเองและครอบครัว
                  ั
                                                            ี
                 ช้น ป.๒ ฝึกทักษะการสืบค้นข้อมูลจากหลักฐานท่เก่ยวข้องกับตนเองและ
                                                          ี
                  ั
          ครอบครัวและให้เรียงล�าดับเหตุการณ์โดยใช้เส้นเวลาได้
                                                      ี
                                                       ี
                                                       ่
                                   ื
                 ช้น ป.๓ ฝึกทักษะการสบค้นข้อมลจากหลกฐานท่เกยวข้องกับโรงเรียน และชุมชน
                                                ั
                  ั
                                          ู
          ใกล้ตัว และสามารถเรียงล�าดับเหตุการณ์โดยใช้เส้นเวลาได้
                                                                  ี
                 ช้น ป.๔ ฝึกทักษะการจาแนกแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ใช้ในการศึกษา
                  ั
                                  �
          ความเป็นมาของท้องถิ่น
                 ชั้น ป.๕ ฝึกทักษะการใช้หลักฐานที่หลากหลาย แยกแยะความจริงกับข้อเท็จจริง
          ในการศึกษาเรื่องราวในท้องถิ่นที่ตนสนใจ
    60
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67