Page 167 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 167

147




                                      ข้อเสนอแนะ กระทรวงศึกษาธิการควรมีการจัดสรรงบประมาณในจัดหา
                     อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการจัดหาอินเทอร์เน็ตที่มีความเสถียรและรองรับการใช้งาน

                     จำนวนมากได้ ส่งเสริมให้ครูอบรมและพัฒนาการใช้สื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
                     ติดตั้งระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตเพื่อมเติมให้กับครูผู้สอนเพื่อที่จะได้สอนเพิ่มเติมนอกเวลาได้



                                                          ้
                             3.2.4 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอม ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาในพื้นที่
                                           สำนักงานศึกษาธิการภาค 12 ได้ดำเนินการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

                     สนับสนุนการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงการพัฒนาในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาค
                     ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (กลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์)  ประกอบด้วย การวิเคราะห์

                     สภาวการณ์ปัจจุบัน แนวโน้มการศึกษาในอนาคต การวิเคราะห์บริบทการศึกษา ดัชนีความก้าวหน้า

                     ของคน จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรไทยในพื้นที่ ดัชนีทางการศึกษา จำนวน 5 ด้าน  ได้แก่ ด้าน
                     การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access)  ด้านความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) ด้านคุณภาพ

                     การศึกษา (Quality)  ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency)  และด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
                     (Relevancy)  และได้นำทฤษฎีและหลักการวางแผนที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ มาใช้ประกอบในการดำเนินงาน

                     มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโดยใช้เทคนิค SWOT Analysis นำมาใช้สรุปวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

                     ทั้งในส่วนของจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่สำคัญ (SWOT) ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก
                     เฉียงเหนือตอนกลาง ดังนี้

                                                     สภาพแวดล้อมภายใน

                                 S (Strength) จุดเด่น                    W (Weakness) จุดด้อย
                       1. ร้อยละของปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรไทย     1. ปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรไทย ปีพ.ศ. 2564

                      วัยแรงงาน (15-59 ปี) ปี พ.ศ. 2564 ในระดับประถม  วัยแรงงาน (15-59 ปี) ในภาพรวม อยู่ในระดับต่ำกว่า
                      ศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สูงกว่า    ระดับประเทศ
                      ระดับประเทศ                                 2. สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพกับสายสามัญในภาพรวม

                       2. ดัชนีความก้าวหน้าของคน (HAI) ปี พ.ศ. 2563   ของพื้นที่ ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
                                                                                          ื้
                      ด้านการศึกษา เด็กอายุ 0 - 5 ปี ทั้ง 4 จังหวัด   3. ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET)
                      มีพัฒนาการสูงกว่า ระดับภาคและระดับประเทศ    ปีการศึกษา 2564  ต่ำกว่าระดับประเทศในทุกระดับ
                       3. มีสถาบันการศึกษาที่สามารถรองรับการศึกษา  และทุกจังหวัด

                      ให้แก่ภาคประชาชนในทุกระดับทุกพื้นที่        4. มีนักเรียนที่มีความยากจนและยากจนพิเศษบาง
                       4. ภาคเอกชน และท้องถิ่น มีการจัดการศึกษาระดับ  จังหวัดมากกว่าร้อยละ 10 ของนักเรียนทั้งหมด
                      ปฐมวัยในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง                5. ความพร้อมทางด้านอุปกรณ์รองรับการเรียน

                       5. หน่วยงาน/สถานศึกษามีทิศทางในการบริหารและ  ระหว่างนักเรียนในโรงเรียนในเมือง สามารถเข้าถึงการ
                      การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของ  เรียนการสอนผ่านทางระบบออนไลน์อย่างมี
                      หน่วยงาน/สถานศึกษาในพื้นท  ี่





                     ---------------------------------------------------------------------------------
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172