Page 121 - การประชุม HACC Forum ครั้งที่ 13
P. 121

117


               05-02  Poster Presentation

               ชื่อเรื่อง : โลจิสติกส์กับการจัดการสินค้าคงคลังยา โรงพยาบาลศรีณรงค์
               ผู้นำเสนอ : กมลชนก แช่มรัมย์      ตำแหน่ง : เภสัชกรปฏิบัติการ

               E-mail : santawn@hotmail.com        เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 4450 9212 ต่อ 146
               เบอร์โทรศัพท์มือถือ : 08 5304 1450   ID line : c soy_kc
               หน่วยงาน : โรงพยาบาลศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์

               ความเป็นมาและความสำคัญ : 1) ไม่สามารถจัดการจำนวนสินค้าคงคลังได้ทั้งระบบ เนื่องจากทำงานโดยใช้
               โปรแกรม excel ซึ่งไม่ได้ทำงาน online เชื่อมต่อข้อมูลระหว่างงานคลังยาและงานจัดซื้อ 2) Stock physical
               (สินค้าที่เหลือจริง) ไม่ตรงกับปริมาณคงคลังในโปรแกรม และนับรายการทุกตัวต่อเดือน ใช้ระยะเวลา
               และอัตรากำลังมาก 3) ปัญหายาขาดคลัง เนื่องจากการรายงานจุดสั่งซื้อไม่ครบทุกรายการ ทำให้ผู้จัดซื้อไม่ทราบ
               สถานะคงคลังของรายการยาทุกตัว และมีอัตราการใช้ยาเพิ่มขึ้นกว่าเดิม  และมีบางตัวไม่มีการเคลื่อนไหวทำให้เกิด

               dead stock เพราะ ขาดติดตามและรายงานอย่างสม่ำเสมอ 4) การสั่งซื้อและเบิกยาและเวชภัณฑ์อาศัยประสบการณ์
               และความเคยชิน 5) พื้นที่คลังขนาดเล็ก ไม่เพียงพอต่อการเก็บยาและเวชภัณฑ์ 6) อัตราคงคลังมากเกินไป
               ทำให้มูลค่าคงคลังเฉลี่ยสูง สูงสุดเดือนพฤศจิกายน 2561 เป็น 6.44 เดือน
               กิจกรรมการพัฒนา : 1) พัฒนาการบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์  (Business Process) 2) วิเคราะห์จัดกลุ่มยาด้วยเทคนิค
               การวิเคราะห์แบบ ABC-VEN 3) รายงานจำนวนคงคลังให้เห็นทั้งระบบ ผ่าน google drive 4) คำนวณหาปริมาณการเบิกจ่าย
               ที่เหมาะสม จุดการเบิกจ่าย และสต๊อกเพื่อความปลอดภัย 5) ปรับจัดวางสินค้าในคลังโดยแบ่งกลุ่มตาม ABC
               ความถี่การเบิกจ่าย  6) กำหนดนับจำนวนคงคลัง (cycle count) ทั้งคลังยาและเวชภัณฑ์ ความถี่ตามกลุ่มยา ABC
               การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง :






























               บทเรียนที่ได้รับ : 1) มีความเข้าใจหลักการและแนวคิดด้านการจัดการโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
               ในหน่วยงานได้ 2) มีรูปแบบการบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์ที่เหมาะสม สามารถลดมูลค่ายาคงคลัง ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการ
               คลังยาได้ 3) ปริมาณยาสำรองมีเพียงพอต่อการใช้บริการผู้ป่วย ณ จุดจ่ายยา และหน่วยบริการ  และลดอุบัติการณ์ยา
               และเวชภัณฑ์ขาดคลัง ผู้รับบริการได้รับยาที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย และทันเวลาความต้องการ
               คำสำคัญ : โลจิสติกส์, คลังยา, บริหารเวชภัณฑ์
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126