Page 10 - แผนพัฒนา กศน.
P. 10

เปลี่ยนแปลงของยุคเศรษฐกิจโมเลกุล (Molecular Economy) ในอนาคต โดยจะตองมีการบริหารจัดการองค

               ความรูอยางเปนระบบ ทั้งการวิจัยและพัฒนา รวมถึงการประยุกตใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่
               เหมาะสมมาผสมผสานรวมกับจุดแข็งของประเทศไทย เชน การสรางความเชื่อมโยงกับวัฒนธรรม และภูมิปญญา

               ทองถิ่น เพื่อสรางคุณคาและมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑและบริการ มีการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาอยางมี

               ประสิทธิภาพ รวมทั้ง การแบงปนผลประโยชนที่เปนธรรมความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการ
               พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศ

               และการสื่อสาร นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการทํางานของสมองและจิต ที่เปนทั้ง
               โอกาสหรือภัยคุกคามในการพัฒนา อาทิ การจารกรรมขอมูลธุรกิจหรือขอมูลสวนบุคคล ประเทศที่พัฒนา

               เทคโนโลยีไดชาจะกลายเปนผูซื้อและมีผลิตภาพต่ํา ไมสามารถแขงขันกับประเทศอื่นๆ และการเขาถึงเทคโนโลยีที่

               ไมเทาเทียมกันของกลุมคนในสังคมจะทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําในการพัฒนา จึงเปนความทาทายในการเพิ่มขีด
               ความสามารถในการแขงขันและลดความเหลื่อมล้ําปจจุบันรัฐไดใหความสําคัญกับโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

               และบริการสาธารณะพื้นฐานผานทางสื่อดิจิทัล และนําดิจิทัลมาใชเพื่อการพัฒนาในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
               ดานการเรียนรูและการใชดิจิทัลเปนเครื่องมือในการพัฒนาครู หลักสูตร และสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง มีสื่อ

               การเรียนรูตลอดชีวิตที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของชาวบานเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอด

               ชีวิต รวมทั้งใหความสําคัญกับการสงเสริมใหประชาชนทุกกลุมไดมีชองทางในการเรียนรูตลอดชีวิตรูปแบบใหม
               โดยผานระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชนที่เรียกวา MOOCs (Massive Open Online Courses)

               1.5 ดานการเมือง

                              แนวโนมความขัดแยงและความรุนแรงดานการเมือง การไมยอมรับในความคิดเห็นที่แตกตางกัน
               ความขัดแยงในเชิงความคิดเห็นของคนในสังคมมีมากขึ้น สงผลใหเกิดความไมสงบ ประชาชนมีความหวาดระแวง

               และขาดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ประเทศขาดความมั่นคงและความสงบสุข ระบบการศึกษาในฐานะ

               กลไกหลักในการพัฒนาคุณภาพคนของประเทศจึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนใหประชาชน
               สามารถคิดวิเคราะห มีเหตุมีผล เขาใจและยอมรับความคิดเห็นที่แตกตางจากเหตุการณอันเกี่ยวเนื่องกับกระแส

               ประชาธิปไตยและเหตุการณทางการเมืองที่เกิดขึ้นจะเปนบทเรียนสําคัญสําหรับรัฐ ดังนั้นผูรับผิดชอบจัดการศึกษา

               จึงตองใหความสําคัญกับการปลูกฝงแนวคิดประชาธิปไตยที่ถูกตองแกเยาวชนผานหลักสูตรและกระบวนการเรียน
               การสอน ในสวนของการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะกอใหเกิดความเขมแข็งและการมีสวน

               รวมของประชาชน การใหความสําคัญตอการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง
               ไมเชนนั้นจะสงผลใหเกิดการบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพ ในสวนของวิกฤตการณจังหวัดชายแดนภาคใตเปนผล

               จากการเมืองการปกครองที่สงผลกระทบโดยตรงตอการศึกษา ซึ่งพบวากลุมเยาวชนที่กอเหตุสวนใหญเปนนักเรียน

               นักศึกษา และเยาวชนในสถาบันการศึกษาและสถาบันสอนศาสนาที่ถูกปลูกฝงและบิดเบือนคําสอนศาสนาให
               กระทํารุนแรง ดังนั้นหากไมมีการแกไขอยางตรงประเด็นอาจทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นตามสถานการณและ




                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               5
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15