Page 101 - Bright Spot 2563
P. 101

โดยที่ผ่านมาบุคลากรกองการพยาบาล ร่วมแรง ร่วมใจกันท างานอย่างมีความสุข และมี
              ผลสัมฤทธิ์ส่งเสริมเศรษฐกิจของชาติให้เติบโต ก้าวไกล ท าให้ทุกคนมีความภูมิใจ ในความเป็น
              กองการพยาบาล เมื่อมีความสุขส่งผลให้การท างานเป็นไปได้ด้วยดี มีประสิทธิภาพ ในช่วงปีที่ผ่านมา

              กองฯ ได้เข้าร่วมการส ารวจและประเมินความสุขของท างาน (Happinometer) ของกระทรวง
              สาธารณสุข

                    ซึ่งผลการประเมินดัชนีความสุขของคนท างานและดัชนีสุขภาวะองค์กร ในปีงบประมาณ พ.ศ.
              2562 เท่ากับร้อยละ 62.19 (ปี พ.ศ. 2560 ร้อยละ 58.87) พบว่า บุคลากรมีความสุขในด้านจิต
              วิญญาณดี Happy Soul สูงที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.00 รองลงมาคือ ด้าน Happy body และ

              Happy Heart คิดเป็นร้อยละ 72.80 72.00 ตามล าดับ ส่วนดัชนีที่มีความสุขน้อยที่สุด คือ ด้าน
              Happy Worklife, Happy Money และ Happy Relax คิดเป็นร้อยละ 52.29 53.75 54.00

              ตามล าดับ ดังแสดงในภาพหน้าถัดไปนี้

               Happy   Happy   Happy   Happy   Happy   Happy   Happy    Happy    Happy   Average
                Body    Relax  Heart    Soul   Family  Society  Brain  Money    Worklife  Happy

                72.80   54.00   72.00   73.00   61.67   55.83   64.33   53.75    52.29    62.19


                    นอกจากนี้ ผู้บริหารได้มีนโยบายให้ส ารวจความเครียด ความคิดเห็นและความต้องการของ
              บุคลากร เพื่อน าข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังกล่าวมาจัดล าดับความส าคัญ และขับเคลื่อนกิจกรรม
              การสร้างสุของค์กรขึ้นให้ตรงกับความต้องการของบุคลากร ซึ่งผลการส ารวจแบบประเมินและ

              วิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเอง ของบุคลากรกองการพยาบาล ตามแบบประเมินความเครียด
              (ST20) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มีบุคลากรร่วมตอบแบบประเมินคิดเป็นร้อยละ

              88.89% มีผลการประเมินดังนี้ ภาพรวมของความเครียด ของบุคลากรภาพรวมอยู่ที่ 11.95 คะแนน
              คือ ไม่เครียด หรือ ปรกติ มีระดับความสุข 6.95 จากคะแนนจากคะแนนเต็ม 10 ซึ่งการส ารวจพบว่า
              ผู้มีความเครียดสูงกว่าปกติเล็กน้อย 5 คน ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น กองการพยาบาล จึงได้ปรับปรุง

                                                     ื่
              แผนสร้างสุของค์กร และขับเคลื่อนกิจกรรมเพอเสริมสร้างความสุขขององค์กร ตามหลัก โดยได้ให้
              ความส าคัญกับปัญหาเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข คือ ดัชนีด้าน Happy Worklife, Happy Money, Happy

              Relax , รวมถึง Happy ในด้านอื่นๆ ดังนี้
              ด้าน Happy Worklife
                    1. สร้างการเรียนรู้เสริมสร้างสมรรถนะดิจิทัลส าหรับนักวิชาการและบุคคลากรให้เกิด

              สมรรถนะด้านดิจิทัลเพิ่มมากขึ้นและสามารถน าไปปรับใช้ในงานประจ าสามารถน ามาใช้งานได้อย่าง
                                                  ั
                                                                                         ั
              มืออาชีพ โดยการจัดโครงการฝึกอบรมพฒนาฐานทักษะดิจิตอล ยกระดับสู่ "องค์กรอจฉริยะ"
                                                           ื่
              (SMART Organization) ประจ าปีงบประมาณ 2563 เพอให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ
              ความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีคอมพวเตอร์ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
                                                                ิ
              และยกระดับองค์กร ลดภาระงานสร้างความสุขกับการท างานเพิ่มขึ้น







                                                                                            87
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106