Page 23 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 23

5)  ระยะการเริ่มต้นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อส่งต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม

                           การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดการความรู้ยึดหลักการสร้างวินัยที่
                                                     ื่
                                                                                             ั
               ส าคัญ ซึ่งส่งเสริมการสร้าง การแบ่งปัน เพอใช้ในการยกระดับความรู้ขององค์กร และพฒนาส่งต่อเป็น
               นวัตกรรมต่อไป


               การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้



                           การสร้างวงจรแห่งการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องจะต้องอาศัยความรู้และผู้ที่จะให้
                       ื่
               ความรู้เพอถ่ายทอดความรู้ออกมาในรูปแบบที่เหมาะสมต่อผู้ที่จะน าความรู้ไปใช้และผู้เรียนรู้สามารถแบ่งปัน
                                          ื่
                                  ิ
                                                                                                        ื่
               และแลกเปลี่ยนความคดเห็น เพอให้ผู้มีความรู้ใหม่ได้เรียนรู้และน าความรู้ใหม่นั้นไปใช้/พัฒนาความรู้ใหม่ เพอ
               น ามาสร้างความรู้ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ต่อไป ซึ่งการด าเนินการจะประกอบไปด้วยกระบวนการหลัก 2
               กระบวนการ ดังนี้


                           •  กระบวนการจัดการความรู้   (Knowledge Management Process) ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน

                              ได้แก่


                                                                                                 ื่
                                                                           ั
                              1)  การบ่งชี้ความรู้ เป็นการวิเคราะห์วิสัยทัศน์/ พนธกิจ/ เป้าหมาย และเพอให้บรรลุ
               เป้าหมายจะต้องมีการวิเคราะห์ความรู้ที่จ าเป็น ประเมินความรู้ที่มีอยู่ รูปแบบของความรู้ที่มี บุคคลที่มีความรู้นั้น

                              2)  การสร้างหรือแสวงหาความรู้ เป็นการสร้างความรู้ใหม่ รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่
               ไม่ใช้แล้ว และแสวงหาความรู้จากภายนอกหรือฝ่ายงานที่มีความเชี่ยวชาญในการรวบรวมความรู้ที่จ าเป็นและ

               ส าคัญ โดย ธสน. ได้จ าแนกความรู้ออกเป็น 6 ด้าน คือ การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ Value Chain
                                                           ั
               ในอตสาหกรรมต่างๆ รับประกันการส่งออก การพฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs การใช้งานระบบ
                   ุ
               เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการองค์กรคุณภาพ

                              3)  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมส าหรับ
               การเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต

                              4)  การประมวลความรู้ เป็นการปรับปรุงรูปแบบ เนื้อหาเอกสารหรือองค์ความรู้ให้มีความ

               สมบูรณ์ มีมาตรฐาน และใช้ภาษาเดียวกัน
                                                                             ื่
                              5)  การเข้าถึงความรู้ เป็นการวางระบบและวิธีการเพอให้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่าย
               และสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board, บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

                              6)  การแบ่งปันความรู้ กรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดท าเป็น เอกสาร ฐานความรู้
               เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดท าเป็นระบบ ชุมชนนักปฏิบัติ ทีมข้ามสาย

               งาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวที
               แลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น






                                                                                                21 | ห น้ า
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28