Page 22 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 22

1)  ระยะสร้างความเข้าใจ

                           เสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้ พร้อมสร้างองค์ความรู้ในการบริหารการ
                            ื่
                                                      ื่
               เปลี่ยนแปลงเพอแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ เพอกระตุ้นให้เกิดการสร้างความรู้ สร้างวิธีการเรียนรู้ และการมี
               ส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ ให้บุคลากรมีความเข้าใจ มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีความสามารถ มีความพร้อมและมี

               ส่วนร่วมในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยให้ความส าคัญต่อการพฒนาบุคลากรด้าน
                                                                                          ั
                                                                 ื่
               การจัดการความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง KM Ambassador เพอเป็นผู้อานวยความสะดวกในการระดมความคิด

               อย่างสร้างสรรค์ให้มีขีดความสามารถสูงเพยงพอในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม และเป็นผู้น าในการ
                                                    ี
               เชื่อมโยงแนวคิดและองค์ความรู้ของหน่วยงาน


                                        ั
                           2)  ระยะสร้างวฒนธรรมการแบ่งปัน
                           ส่งเสริมให้ธนาคารสร้างวัฒนธรรมการเผยแพร่แบ่งปันองค์ความรู้ด้วยกิจกรรมที่หลากหลายและ

                         ั
                                      ื่
               ประชาสัมพนธ์ให้ฝ่ายงานอนๆ ได้รับทราบและน าไปสู่การปฏิบัติ การต่อยอดอย่างต่อเนื่องโดยเน้นการสร้าง
               ความเข้าใจให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มและใช้สื่อที่หลากหลายอย่างเหมาะสม

                           3)  ระยะสะสมองค์ความรู้

                           เป็นการสะสมองค์ความรู้ใหม่ หรือแสวงหาความรู้จากภายนอกหากองค์ความรู้ที่จ าเป็นต่อ

                                        ี
               องค์กรนั้นยังไม่มีหรือมีไม่เพยงพอ  กรณีเป็นความรู้ที่ชัดแจ้งอาจจัดท าเป็น เอกสาร ฐานความรู้ หรือ
               เทคโนโลยีสารสนเทศ กรณีเป็นความรู้ที่ฝังลึกในบุคคล อาจจัดท าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน (Cross-

               functional Team), กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม (Innovation & Quality Circles : IQCs), ชุมชน
                                                                                          ี่
               แห่งการเรียนรู้ หรือ ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP), ระบบพเลี้ยง (Mentoring
               System), การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation), การยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน, หรือเวทีแลกเปลี่ยนความรู้

               (Knowledge Forum)  เป็นต้น นอกจากนี้ การสะสมองค์ความรู้ยังหมายรวมถึงการรักษาความรู้เก่า และการ
               ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว

                           4)  ระยะต่อยอดและใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทางความรู้

                           การน าความรู้ขององค์กรที่ได้มีการสะสมไปปรับปรุงและพฒนาใช้อย่างต่อเนื่อง เป็นการสร้าง
                                                                            ั
               องค์ความรู้ใหม่ให้รองรับความเปลี่ยนแปลง ด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ให้เข้าถึงการปฏิบัติงานได้อย่างมี
               ประสิทธิภาพ ส่งผลให้องค์กรสร้างสินทรัพย์ทางความรู้ ซึ่งได้แก่ แหล่งข้อมูลทางปัญญาที่สะสมขององค์กร

               เป็นความรู้ที่องค์กรและพนักงานมีอยู่ในรูปของสารสนเทศ ความคิด การเรียนรู้ ความเข้าใจ ความจ า ความ

               เข้าใจลึกซึ้ง ความรู้และทักษะด้านเทคนิค และสมรรถนะ (Knowledge Assets: Baldrige Criteria 2017-
               2018) เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์กรต่อไป








                                                                                                20 | ห น้ า
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27