Page 17 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 17
การด าเนินการตามแผนแม่บท ตั้งแต่ปี 2560 ได้พฒนาในแนวทางที่ดีขึ้นเป็นล าดับ โดยเห็นว่า
ั
บุคลากรของธสน. มีความสนใจที่จะเรียนรู้กระบวนการจัดการความรู้ และเริ่มรับทราบหน้าที่ในการจัดเก็บ
ื่
และแบ่งปันความรู้ รวมถึงส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ร่วมกัน เพอขับเคลื่อนให้ธสน. เป็นองค์กรแห่งการ
ื่
เรียนรู้ได้ อย่างไรก็ตาม คณะท างานคัดกรองความรู้ได้วิเคราะห์และประเมินเพอหาแนวทางในการพฒนา
ั
แผนงาน สรุปได้ดังนี้
- บุคลากรของธสน. ยังไม่ตระหนักถึงความส าคัญของการจัดการความรู้ในระดับเดียวกับการให้
ความส าคัญในการปฏิบัติงานตาม KPI ระดับบุคคล หรือระดับฝ่ายงาน
ื่
- หน่วยงานต่างๆ ยังเห็นว่าการจัดเก็บองค์ความรู้เป็นเพยงการจัดท าเพอการประเมินคุณภาพ
ี
รัฐวิสาหกิจในแต่ละปีเท่านั้น
- การที่ให้หน่วยงานต้องท าหน้าที่จัดเก็บองค์ความรู้เองนั้น บุคลากรตามหน่วยงานยังเห็นว่าเป็น
ภาระงานที่เพิ่มขึ้น
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น คณะท างานคัดกรองความรู้ได้พจารณาผลการด าเนินการตามแผน
ิ
แม่บทการจัดการความรู้และนวัตกรรม ประกอบกับสรุปผลการประเมินตามระบบ SEPA ที่ได้รับจาก
คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ซึ่งชี้ให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงว่า “ไม่ชัดเจนว่าการจัดการความรู้ของ
ธสน. ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร และทุกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนการส่งเสริมให้น าองค์ความรู้ไปใช้
ประโยชน์ในการปรับปรุงกระบวนการท างาน ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ ปรับปรุงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
ตลอดจนต่อยอดเป็นนวัตกรรมองค์กร” คณะท างานคัดกรองความรู้จึงเห็นสมควรปรับเปลี่ยนรายละเอียดของ
แผนปฏิบัติงานเพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ใหม่ของธสน.
ข้อกําหนดสําคัญที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ ธสน.
นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อสภานิติบัญญัติ
ิ่
แห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เพื่อเพมศักยภาพของบุคลากร ดังนี้
ข้อ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
ิ่
- เพมขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้
เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเพมองค์ความรู้ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพของ
ิ่
ั
กระบวนการผลิต ในการพฒนาผลิตภัณฑ์และพฒนาการบริหารจัดการภายในองค์กร ปรับโครงสร้างกลไก
ั
การสนับสนุนและการขับเคลื่อนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เป็นระบบและมีเอกภาพที่ชัดเจนทั้งใน
ด้านการเข้าถึงแหล่งเงินทุนและบริการทางการเงินและการลงทุนส าหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ การตลาดและโอกาสในการลงทุนในต่างประเทศ
15 | ห น้ า