Page 16 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 16
3. บริบทการจัดการความรู้ ธสน.
3.1 ทิศทางการจัดการความรู้ ธสน.
ปัจจุบัน องค์กรต่างๆ มีการน าความรู้มาใช้ในการท างานและแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างแพร่หลาย
โดยถือว่าความรู้มีส่วนส าคัญที่จะสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นในองค์กร โดยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันด้วยการ
ั
ใช้ความรู้ในการพฒนาการท างานและแก้ปัญหาให้กับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้จึงเป็นทรัพย์สินที่
ื่
ส าคัญที่จะช่วยให้องค์กรสามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยที่องค์กรอนไม่สามารถ
ลอกเลียนแบบได้
องค์กรมุ่งหวังที่จะเก็บองค์ความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ของบุคลากร เพอน ามาแบ่งปัน
ื่
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ท าให้องค์กรมีการพัฒนาต่อไปได้อย่างไม่หยุดยั้ง สามารถตอบสนองต่อกระแส
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางการแข่งขันได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันการณ์ การบริหารจัดการ
ความรู้อย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน ตั้งแต่กระบวนการในการระบุความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร การจัดเก็บรวบรวม
ความรู้จากบุคลากร การจัดหมวดหมู่ความรู้ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเผยแพร่องค์ความรู้
ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนสามารถน าความรู้ที่ได้ไปต่อยอดให้เกิดประโยชน์ในการท างาน เพื่อให้บรรลุ
ตามเป้าประสงค์ซึ่งด้วยเหตุนี้ องค์กรที่มุ่งหมายจะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จึงจ าเป็นต้องให้ความส าคัญเรื่อง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ธสน. ซึ่งเป็นสถาบันการเงินของรัฐที่มีทิศทางในการด าเนินงานเป็นกลไกของรัฐเพอสนับสนุน
ื่
ผู้ประกอบการไทยให้เติบโตมากขึ้นในตลาดโลก และเพอให้บรรลุซึ่งวิสัยทัศน์ระยะปานกลาง (ปี 2565) ที่จะ
ื่
เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจชั้นน าระดับภูมิภาค ที่เป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การค้าและการ
ลงทุนระหว่างประเทศของไทย และระดับโลก (ปี 2570) การจัดการความรู้จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะน าธสน. ไปสู่
ความส าเร็จ โดยการจัดการความรู้เป็นรากฐานทางด้านข้อมูลและสารสนเทศให้กับธสน. ในการพฒนาระบบ
ั
การบริหารจัดการทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการก าหนดทิศทางขององค์กร การวางแผนกลยุทธ์ การก าหนดแนว
ทางการพฒนาบุคลากรทางการจัดการความรู้ และการปรับปรุงกระบวนการท างาน เพอให้ธสน. มีแนวทาง
ื่
ั
ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน
นอกจากนี้ เกณฑ์การประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal
ั
– SEPA) มุ่งเน้นกระบวนการพฒนาอย่างต่อเนื่อง การจัดการความรู้จึงมีความส าคัญ เนื่องจากเป็นฐานให้เกิด
การพฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้และนวัตกรรม ส าหรับระบบประเมินผลการด าเนินการรัฐวิสาหกิจแบบ
ั
ี
ใหม่ที่จะเริ่มมีผลในปี 2563 การจัดการความรู้และนวัตกรรมได้รับการหยิบยกเป็น Enabler ใหม่อก 1 ด้าน
โดยแยกออกจากหมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตามระบบประเมินคุณภาพรัฐวสาหกิจ (SEPA)
แบบเดิม
14 | ห น้ า