Page 190 - Advande_Management_Ebook
P. 190

188                                        เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง



           เองเป็นเรื่องของการปฏิบัติและความพยายาม ความคิดเห็นวนกลับในการพัฒนาแบบ
           ว่องไวเหนือกว่าผลิตภัณฑ์ที่ก�าลังผลิต ทีมงาน Agile ยังมองและปรับกระบวนการ

           ของตัวเองอย่างต่อเนื่องเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น Scrum ทบทวนการ
           ท�างานของทีมโดยไม่ขึ้นกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซึ่งจะช่วยเปิดเผยปัญหาของระบบ
           ในการพัฒนา



           Agile Management กับกำรจัดกำรภำครัฐ


                  การบริหารจัดการทั้งภาคธุรกิจหรือภาครัฐ ในยุคศตวรรษที่ 21 ที่เกิดขึ้นจาก

           การถาโถมของเทคโนโลยีที่มารวดเร็วและรุนแรงด้วยแล้ว หากไม่ปรับตัวให้เร็ว
           ผลผลิตหรืองานบริการที่จะตอบโจทย์หรือปัญหาของลูกค้าหรือประชาชนแล้ว จะเกิด
           การขาดประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่คาดหวังไว้ก็จะไม่ได้รับหรือเข้าเป้า

           หมาย ในตัวชี้วัด (KPI’s) ที่ก�าหนดไว้อย่างแน่ชัด ในหนังสือเล่มนี้จะขอน�าเสนอใน
           การน�าเอา การบริหารจัดการแบบคล่องตัว (Agile Management) ในองค์ภาครัฐ

           อันได้แก่ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐที่ผู้เขียนเคยบริหารงาน
           มาในอดีต และจะแนะน�าในทิศทางที่ควรท�า หากจะรอการปฏิรูปตามที่รัฐบาลก�าหนด
           ไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น ก็ผ่านมามากกว่าสองปีแล้วที่กฏหมายบังคับใช้

           รัฐบาลก็ยังไม่สามารถขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปต�ารวจออกมาได้เลย มาดูในเอกสาร
           หนังสือเล่มนี้ ก็จะได้เข้าใจว่า การปฏิรูป มันมิใช่ แค่การเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนา

           หรือปรับปรุง หรือแก้ไข หรือยกระดับ เท่านั้น จริงแท้แล้ว จะต้องพลิกเปลี่ยนแบบ
           หน้ามือเป็นหลังมือ การจะน�าเอาเทคนิคการพัฒนามาใช้แต่ล�าพังจากเครื่องมื่องใน
           การบริหารแบบเดิมๆมิได้แล้ว

                  การปฏิบัติหน้าที่แบบคล่องตัวที่จะต้องเกิดขึ้นในส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ
           จากบรรรดาข้าราชการต�ารวจทั้งแบบมียศและไม่มียศ สองแสนกว่าคนเศษ ที่ถูกบรรจุ

           ไว้ในกรอบอัตราสองแสนสามหมื่นคนจากรัฐบาล มันคงจะเข้ามาบริหารจัดการด้วย
           การน�าการบริหารแบบสมดุล (Balanced Scorecard) การบริหารจัดการแบบ
           คุณภาพและมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)

           หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง คือการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แม้เราจะมี
           การพัฒนาจนถึง PMQA 4.0 เครื่องมือทางการบริหารจัดการอีกชิ้นหนึ่งที่ภาครัฐ
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195