Page 71 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 71
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 57
องค์การเภสัชกรรมได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า เป้าหมายส าคัญของการปฏิรูปด้านสาธารณสุขขอประเทศ
คือ ความมั่นคงทางยา ซึ่งองค์การเภสัชกรรมได้รับถือเป็นภารกิจส าคัญในการด าเนินภารกิจสร้างความมั่นคง
ทางยา เพื่อให้มียาเพียงพอต่อความต้องการ (availability) สามารถเข้าถึงยาได้ (accessibility) มีเสถียรภาพ
(stability) และมีความสามารถในการจ่าย (affordability) บทบาทขององค์การเภสัชกรรมต่อระบบ
ั
ื่
สาธารณสุขของประเทศนั้น คือ ท าให้เกิดความสมดุลของแต่ละภาคส่วนเพอให้มีความมั่นคงทางยาและพฒนา
อุตสาหกรรมยาในประเทศ
ทั้งนี้ กรมบัญชีกลางได้ให้ข้อมูลง่า ได้มีการว่างกรอบแนวทางในการท าข้อสงวนของประเทศไทยโดย
ยึดต้นแบบจากสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามซึ่งสามารถยกเว้นตลาดได้ร้อยละ 50 ในระยะเวลา 20 ปี
อย่างไรก็ตามืตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาในประเทศไทยได้ให้ความเห็นว่า การยกเลิกสิทธิประโยชน์
ขององค์การเภสัชกรรม อาจมีผลให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมในตลาดอุตสาหกรรมยาในประเทศ ซึ่งอาจ
ท าให้อุตสาหกรรมยาในประเทศเติบโตมากขึ้น
ั
อ้างอิงข้อมูลเพิ่มเติมจากผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพฒนา
อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ ด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมยาและการเข้าถึงยาพบว่า สถานการณ์
อุตสาหกรรมผลิตยาและการเข้าถึงยาในประเทศในปัจจุบัน เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กพึ่งพิงการน าเข้าเป็น
หลัก และพบว่า ในปี พ.ศ. 2562 มีบริษัทที่มีขนาดตลาด 1,000 ล้านขึ้นไป เพียงร้อยละ 12 (21 แห่งจาก 123
แห่ง) สัดส่วนการผลิตยาในประเทศ เมื่อเทียบกับการน าเข้ายา จะเห็นว่า มีแนวโน้มดลงอย่างเห็นได้ชัด จากร้อ
ยะล 63 ในปี พ.ศ. 2530 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 29 ใน ปี พ.ศ. 2562 และมีแนวโน้มการน ายาเข้าสูงขึ้นทุกปี
เบื้องต้น การคาดการณ์ผลการทบของความตกลง CPTPP ในระยะเวลาประมาณ 30 ปี (พ.ศ. 2562
– 2591) แสดงให้เห็นว่า ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้นจะมาจากราคายาที่เพิ่มสูงขึ้น
ประเทศไทยพึ่งพิงยาน าเข้าเพิ่มขึ้น หากประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP ผลกระทบจากการเชื่อมโยง
สิทธิกับการขึ้นทะเบียนต ารับยา (patent linkage) และการลดสิทธิพิเศษขององค์การเภสัชกรรมภายใต้ข้อบท
รัฐวิสาหกิจ (state-owned enterprise) จะส่งผลให้คนไทยประสบปัญหาการเข้าถึงยา รายละเอียดในการ
วิเคราะห์ในหัวข้อผลกระทบของนโยบายต่ออุตสาหกรรมยาภายในประเทศ โดยใช้แบบจ าลองพลวัตรระบบ
(System Dynamic Modeling) ดังนี้
ก. ค่าใช้จ่ายด้านยาเพิ่มสูงขึ้น สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านยามีแนวโน้มเพิ่มจากร้อยละ 1.2 ของ GDP จาก
ปัจจุบัน เป็นร้อยละ 3 – 4 ในอีก 30 ปีข้างหน้า
ข. อัตราการพึ่งพิงยาน าเข้าเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 71 ใน ปี พ.ศ. 2562 เป็นร้อยละ 89 ในปี พ.ศ. 2570