Page 70 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 70

Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
           56      development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP


                       3. ประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (government procurements) ที่เกี่ยวกับสาธารณสุข


                       ปัจจุบัน การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐจะเกี่ยวข้องกับทุกผลิตภัณฑ์และทุกประเภทการจ้างของหน่วยงาน

               รัฐด้านสาธารณสุข โดยจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างละการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.
               2560 อย่างไรก็ตาม ประเด็นส าคัญในส่วนที่เกี่ยวกับพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน ซึ่งมีอยู่ 2

               ประการ คือ


                              3.1 พัสดุส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข เช่น ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติที่องค์การเภสัช

               กรรม สภากาขาดไทย โรงงานเภสัชกรรมทหาร ผลิตและ/หรือจ าหน่าย ผลิตภัณฑ์ที่สภากาชาดไทยผลิต และ

               วัคซีนที่ผลิตในประเทศ


                              3.2 พัสดุส่งเสริมนวัตกรรม เพื่อส่งเสริม ผลักดดันขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา

               ยา รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ด าเนินการโดยหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนของไทย (องค์การเภสัชกรรม
               สภากาชาดไทย และโรงงานเภสัชกรรมทหาร และอุตสาหกรรมผู้ผลิตยาภายในประเทศ โดยให้สิทธิพิเศษกับ

               ผู้ผลิตไทย ซึ่งมีนวัตกรรมที่ได้ขึ้นบัญชีไว้ด้วยวิธีการซื้อเฉพาะเจาะจงหรือวิธีคัดเลือก พร้อมทั้งการก าหนด

               สัดส่วนมูลค่าการซื้อ ซึ่งจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผนคามต้องการนวัตกรรมทั้งหมดของหน่วยงาน


                              ความตกลง CPTPP บทที่ 15 ก าหนดให้ปฏิบัติกับผู้จัดจ าหน่าย/ผู้ผลิตใประเทศและจาก

               ประเทศภาคีสมาชิกเท่าเทียมกัน หากโครงการนั้น ๆ มีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าขั้นต ่าที่ก าหนดซึ่งจะมีผลกระทบต่อ

               อุตสาหกรรมยาในประเทศ องค์การเภสัชกรรม สภากาชาดไทย และโรงงานเภสัชกรรมทหาร ทั้งนี้เนื่องจากขีด
               ความสามารถในการแข่งขันที่แตกต่างกันกับอุตสาหกรรมในต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม CPTPP ได้ก าหนดให้

               ประเทศสามารถก าหนดหน่วยงานของรัฐที่จะต้องก าเนินการตามข้อก าหนด ผลิตภัณฑ์และมูลค่าขั้นต ่าของ

               โครงการ และก าหนดเวลาปรับตัว (transition period) ที่แตกต่างกันได้ผ่านการเจรจากับประเทศสมาชิก

               CPTPP


                                                               ี
                       คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอยด ดังนี้

                       องค์การเภสัชกรรมได้ให้ข้อมูลว่า สิทธิประโยชน์ขององค์การเภสัชกรรม (GPO) ที่ได้รับจากประกาศ
               กระทรวงการคลัง เรื่องการจัดซื้อจัดจ้างยาของภาครัฐตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันย่อมถูกกระทบสิทธิจากการที่

               ประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP เนื่องจากไม่ได้รับการยกเว้น เพราะมิใช้ธุรกิจผูกขาด (monopoly)

               ภาคเอกชนได้ให้ข้อมูลว่า เม้ในปัจจุบันองค์การเภสัชกรรมจะได้รับสิทธิต่าง ๆ ในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐก็

               ตาม แต่ควรเป็นการร่วมมือระหว่างองค์การเภสัชกรรมและบริษัทยาในประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงของ

               อุตสาหกรรมยาของประเทศไทย
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75