Page 59 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 59
บทที่ 3
วิธีการศึกษา
3.1 แหล่งข้อมูล
การศึกษาในครั้งนี้ได้ท าการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 3 ประเภท คือ
่
เอกสาร ได้แก เอกสารอิเลคทรอนิกส์ในเวปไซต์งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบทางราชการ
และวิธีปฏิบัติ จดหมายข่าว วารสาร ข่าวและบทความในหนังสือพิมพ ์
วีดิทัศน์ ที่น าเสนอรายการประเภทข่าวและรายการสนทนาทางโทรทัศน์ที่ได้มีการ
น าเสนอ
บุคคล หมายถึง ผู้ที่ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ โดยการศึกษาครั้งนี้ได้เลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ส าคัญ (Key informants) โดยวิธี Purposive sampling เช่น เจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องในองค์การเภสัช
กรรมและ Mylan คณะกรรมการที่ก าหนดนโยบาย นักวิชาการ ภาคประชาสังคม
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structure) ซึ่งมีลักษณะเป็นค าถาม
ปลายเปิด (Open-ended question) ผู้วิจัยได้เตรียมแนวค าถามเพอใช้เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์
ื่
ให้ครอบคลุมครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนี้
1) เนื้อหา (content): เนื้อหานโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
2) บริบท (context): สถานการณ์ในปัจจุบันและปัจจัยแวดล้อมใดบ้างที่ส่งเสริมหรือเป็น
อุปสรรคต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี การก าหนดนโยบาย การน านโยบายไปสู่การปฏิบัติ
3) กระบวนการนโยบาย (process): ความเป็นมาของการก าหนดนโยบาย การยกระดับ
ประเด็น WHOPQ เป็นนโยบายระดับการเมือง การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติและแผนยุทธศาสตร์
โครงสร้างและกลไกในการบริหารและขับเคลื่อนการด าเนินงานตามแผน การติดตามและประเมินผล
การด าเนินงานตามแผน
4) ผลลัพธ์ (outputs/outcomes): ผลได้ที่เกิดจากการเข้าสู่มาตรฐาน WHO PQ ในด้าน
การเงินและด้านการพัฒนาองค์กร เป็นต้น
5) ตัวแสดง (actors): บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนหรือส่งเสริมการ
ด าเนินการตามนโยบาย ตลอดจนมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย