Page 64 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 64
ุ
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 1: 17 ปี ของการท างานร่วมกัน เพื่อบรรล WHO PQ | 47
4.1.2 ล าดับเหตุการณ์ของการขอรับรอง WHO PQ ขององค์การเภสัชกรรม และผู้ม ี
ส่วนเกี่ยวข้องส าคัญ
ตารางที่ 1 เป็นการสรุปล าดับเหตุการณ์ส าคัญตั้งแต่ อภ.เริ่มมีด าริที่จะขอการ
ั
รับรอง WHO PQ ในปี 2542 จนได้รับการรับรอง และ แผนการพฒนามาตรฐานการผลิตยา และ
แผนขอการรับรอง WHO PQ จากการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan และ บริษัท
Shanghai Desano ในอนาคต
ี่
ตารางท 1 ล าดับเหตุการณการขอรับรอง WHO PQ ขององค์การเภสัชกรรม และผู้มีส่วน
์
เกี่ยวข้องส าคัญ
เดือน-ปี เหตุการณ์ส าคัญ
2542 ในปี 2542 ผลการศึกษาน าร่องของ WHO ตรวจสอบคุณภาพยา พบว่า
ยารักษาวัณโรค 6 ใน 10 รายการที่ท าการตรวจวิเคราะห์ไม่มีฤทธิ์ในการ
รักษา ดังนั้น WHO จึงถูกเรียกร้อง จากประเทศสมาชิกให้กาหนด
2
ื่
มาตรฐานในระดับนานาชาติเพอประกันคุณภาพยา ประกอบกับ
หน่วยงานจัดซื้อของ UN ประสบปัญหาการจัดซื้อยาจากประเทศก าลัง
3
ั
พฒนา เนื่องจากปัญหาด้านคุณภาพ ท าให้ต้องจัดซื้อยาในประเทศที่
ั
พฒนาแล้ว ซึ่งมีหน่วยงาน ก ากับดูแลด้านยาที่เข้มงวด เพอให้ได้ยาที่มี
ื่
คุณภาพ และ ความปลอดภัยสูง อย่างไรก็ตาม พบว่า ยาเหล่านั้นมักเป็น
ยาที่ติดสิทธิบัตรและมีราคาสูงมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่องบประมาณใน
การจัดซื้อยาของ UN
นอกจากนี้ มาตรฐานการผลิตยา ในประเทศก าลังพัฒนา รวมถึงคุณภาพ
ยา ยังเป็นประเด็น ที่สงสัยในระดับนานาชาติ ในขณะที่ UN ก็ให้ความ
สนใจกับยาชื่อสามัญที่มีประสิทธิภาพ และความปลอดภัย เนื่องจากยา
2 A. J. van Zyl. Ensuring quality medicines: a decade of prequalification. WHO Drug Information.
Vol. 25, No. 3, 2011. 231-239.
3 Ellen F. M.‘t Hoena, Hans V. Hogerzeil, Jonathan D. Quick, and Hiiti B. Sillo. A quiet revolution
in global public health: The World Health Organization’s Prequalification of Medicines
Programme. Journal of Public Health Policy. 1–25.