Page 66 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 66
ุ
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 1: 17 ปี ของการท างานร่วมกัน เพื่อบรรล WHO PQ | 49
ี่
ตารางท 1 ล าดับเหตุการณ์การขอรับรอง WHO PQ ขององค์การเภสัชกรรม และผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องส าคัญ (ต่อ)
เดือน-ปี เหตุการณ์ส าคัญ
ื่
- กองทุนโลกเพอต่อสู้กับโรคเอดส์ วัณโรค และมาลาเรีย (Global Fund
To Fight AIDS, TB, And Malaria or Global Fund) ได้ถูกก่อตั้งขึ้น
โดยนายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ เป็นตัวแทนของประเทศไทยที่เข้า
ร่วมเป็นคณะกรรมการนโยบายของ Global fund
ื่
- กองทุนโลก ได้อนุมัติงบประมาณให้แก่ประเทศต่างๆ เพอจัดซื้อยา
รักษาโรค HIV/AIDs, TB และ Malaria โดยคณะกรรมการมีข้อสรุปให้แต่
ละประเทศที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Global fund จัดซื้อยาได้เฉพาะใน
ประเทศที่มีความเข้มแข็งในการผลิตยา 29 ประเทศ และยาที่ผ่านการ
รับรองมาตรฐานจากองค์การอนามัยโลก (WHO PQ list)
ั
- นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ประสานกบองค์การเภสัชกรรม
ื่
ื่
เพอให้ด าเนินการขอการรับรองมาตรฐานจาก WHO เพอให้สามารถใช้
เงินของ Global fund ในการจัดซื้อยาของ อภ.ได้ และได้ประสานกับ
ั
คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพนธุ์ รัฐมนตรีว่ากระทรวงสาธารณสุขใน
ขณะนั้น เพอขอรับการสนับสนุนโครงการดังกล่าว ซึ่งได้รับการตอบรับ
ื่
เป็นอย่างดี
ั
- รมว.สาธารณสุข (คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพนธุ์) หารือร่วมกันระหว่าง
กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรคติดต่อ องค์การเภสัชกรรม ตัวแทน
็
เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอดส์และตัวแทนเอนจีโอ เห็นชอบในหลักการที่จะให้
การรักษาโรคเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสเป็นส่วนหนึ่งของระบบหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า และมอบนโยบายให้ อภ. มีผลิตภัณฑ์ยาต้านไวรัสเอดส์
ที่ได้รับ WHO Prequalification (WHO PQ) ในขณะนั้น อภ.ผลิตยา
GPO VIR (Nevirapine 200 mg/Lamivudine 150 mg/Stavudine 30
mg Tablets) ซึ่งองค์กรระหว่างประเทศมีความสนใจซื้อยา GPO VIR
จากองค์การเภสัชกรรม เงื่อนไขคือองค์การเภสัชกรรมต้องผ่านการ
รับรองมาตรฐาน WHO PQ