Page 68 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 68
ุ
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 1: 17 ปี ของการท างานร่วมกัน เพื่อบรรล WHO PQ | 51
ี่
ตารางท 1 ล าดับเหตุการณ์การขอรับรอง WHO PQ ขององค์การเภสัชกรรม และผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องส าคัญ (ต่อ)
เดือน-ปี เหตุการณ์ส าคัญ
วิทิต ได้เจรจา ขอแบบโรงงานผลิตยา จากบริษัท Hetero ประเทศ
อินเดีย ซึ่งได้รับ WHO PQ แล้วมาท าการก่อสร้างโรงงานผลิตยาแห่งใหม่
8 กุมภาพันธ์ 2553 - มีค าสั่งองค์การเภสัชกรรม ที่ 04/2553 ลงวันที่ 8 กุมภาพนธ์ 2553
ั
ั
เพอแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดท าแผนพฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนในประเทศ
ื่
ไทยในเรื่อง WHO Pre-qualification Schemes โดยมีนายแพทย์สุวิทย์
วิบุลผลประเสริฐ เป็นประธาน และนายแพทย์วิทิต อรรถเวชกุล
ผู้อานวยการ อภ. ในขณะนั้นเป็นรองประธานคณะกรรมการดังกล่าว มี
หน้าที่ วิเคราะห์สถานการณ์ และประสานงานองค์กรต่างๆ ในการจัดท า
แผนพัฒนาฯ
- การกอสร้างโรงงานผลิตยารังสิต 1 ประสบปัญหาหลายประการ ส่งผล
่
ให้แล้วเสร็จล่าช้ากว่าก าหนด เช่น ผู้รับจ้างก่อสร้างไม่สามารถติดตั้ง
ระบบอากาศ (HVAC system) ที่สามารถควบคุมอณหภูมิและความชื้น
ุ
ได้ตามข้อก าหนดในสัญญาจ้าง
พ.ศ. 2553 – 2554 - ที่ปรึกษาองค์การเภสัชกรรม นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ แนะน าให้
6
องค์การเภสัชกรรม ร่วมกับกรมวิทยาศาตร์การแพทย์และส านักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา จัดท าแผนพฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนใน
ั
ประเทศไทย เรื่อง WHO Pre-qualification Scheme เสนอ
คณะรัฐมนตรี เมื่อจัดท าเสร็จใน ปี พ.ศ. 2554 รมว.สาธารณสุข (นายจุ
รินทร์ ลักษณวิศิษฏ์) ขอความเห็นชอบ “แผนพฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนใน
ั
ประเทศไทย เรื่อง WHO Pre-qualification Scheme” ซึ่งคณะรัฐมนตรี
มีมติเห็นชอบในหลักการดังกล่าว โดยแผนของ อภ. คาดว่าจะ ได้รับการ
รับรอง WHO PQ ภายในกันยายน พ.ศ. 2562
6 รายละเอียดดูในภาคผนวก 2 “สรุปบทเรียน การด าเนินงาน จากการเข้าร่วมท างานในโครงการ WHO PQ อภ.
ของ ดร.ภญ.มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ” ซึ่งสะท้อนปัญหา อุปสรรค และความพยายามในการแก้ไขปัญหา
ตั้งแต่ปี 2553 จนกระทั่ง อภ. ได้รับ WHO PQ