Page 73 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 73

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ   | 56





                                                                                                        ื่
                                     ในช่วง พ.ศ. 2553 องค์การเภสัชกรรมประสบปัญหาการขาดองค์ความรู้เพอ
                       ประกอบการขอรับรองมาตรฐาน WHO PQ ได้แก่ ระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality

                       Management System) และเครื่องมือคุณภาพ (Quality tools) เช่น Deviation, Change Control

                       และ Out of Specification เป็นต้น ทางองค์การเภสัชกรรมจึงได้แก้ปัญหาด้วยการจ้างที่ปรึกษา
                                ื่
                       โครงการเพอขอรับรอง WHO PQ จากประเทศออสเตรียเข้ามาให้ความรู้ด้านการเตรียม Product
                       Dossier และทบทวน Standard Operating Procedure (SOP) เอกสาร validation  ที่เกี่ยวข้องกบ
                                                                                                        ั
                       ระบบคุณภาพ โดยลักษณะการให้ความรู้จะเป็นรูปแบบที่บุคลากรในองค์การเภสัชกรรมเป็นผู้เขียน
                       เอกสารด้วยตัวเอง

                                                                                                    ่
                                     ต่อมา อภ. ประสบปัญหาด้านการก่อสร้างท าให้ต้องยกเลิกสัญญาจ้างบริษัทกอสร้าง
                       ส่งผลให้บริษัทที่ปรึกษาจากต่างประเทศ ขอยกเลิกสัญญากับองค์การเภสัชกรรมในงานโครงการขอ
                       รับรอง WHO Prequalification ณ โรงงานผลิตยารังสิต

                                     ปี พ.ศ. 2558 อภ. ได้ตกลงท าการถ่ายทอดเทคโนโลยีกับบริษัท Mylan โดยได้รับ

                       ความช่วยเหลือจากตัวแทนบริษัท Mylan ในประเทศไทย แม้ว่าองค์การเภสัชกรรมจะเคยท าสัญญา
                       การถ่ายทอดเทคโนโลยีกับบริษัท Mylan เมื่อปี พ.ศ. 2554 มาแล้ว แต่สัญญาฉบับดังกล่าวได้

                       หมดอายุลง และบริษัท Mylan เองได้เปลี่ยนเจ้าของและรูปแบบบริษัทไปเป็น Multinational

                                                                                     ุ
                                                      ื่
                       company ส่งผลให้ การร่างสัญญาเพอการถ่ายทอดเทคโนโลยีในครั้งนี้มีอปสรรคในด้านกฎหมาย
                       ทั้งจากระเบียบของหน่วยงานภาครัฐขององค์การเภสัชกรรมเอง และระเบียบของบริษัท Mylan ซึ่งมี
                       ส านักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ไม่มีหน่วยงานด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งผลให้

                                                                                                         ั่
                       กระบวนการท าสัญญาการถ่ายทอดเทคโนโลยีในครั้งนี้ใช้เวลาตั้งแต่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2558 จนกระทง
                       แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2559

                                                            ั
                                                                ั
                                     อย่างไรก็ตามจากความสัมพนธ์อนดีระหว่างองค์การเภสัชกรรมและผู้บริหารบริษัท
                                     ิ
                       Mylan ประเทศอนเดียที่เป็นคู่ค้ากันมานาน ส่งผลให้ทางบริษัท Mylan มีความไว้วางใจ และได้เริ่ม
                       กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีคู่ขนานไปกับการท าสัญญา โดยกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ

                       ผลิตยา Efavirenz เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2559

                                     ในข้อตกลงการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology transfer agreement) อภ.
                       ตกลงว่าจะซื้อวัตถุดิบจาก Mylan แบบเฉพาะเจาะจงเป็นเวลา 3 ปี โดยที่ราคาวัตถุดิบต้องไม่แตกต่าง

                       จากตลาดโลกเกินร้อยละ 5 การท าสัญญาดังกล่าวถือว่าเป็นหนึ่งในรูปแบบของการถ่ายทอด

                       เทคโนโลยีด้วยการท าสัญญา อย่างไรก็ตามในสัญญาไม่ได้ระบุเกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมในการถ่ายทอด
                       เทคโนโลยี เทคนิคในการปฏิบัติงาน รวมทั้งช่วงเวลาในการถ่ายทอดความรู้

                                     แม้ว่าในสัญญาการถ่ายทอดเทคโนโลยีจะไม่ได้ระบุถึงรายละเอยดกิจกรรม แต่
                                                                                            ี
                       กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan ให้กับ อภ. ประกอบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78