Page 105 - แผนการสอน 63-2
P. 105
79
ขั้นที่ 2 ส ารวจและค้นหา
1. ให้นักเรียนอ่านวิธีด าเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้
- กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ลักษณะเมฆ และการตรวจวัด)
- กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร
- วิธีด าเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายวิธีสังเกตเมฆบนท้องฟ้าตามความคิด
ของตนเอง สังเกตวาดภาพ และจ าแนกเมฆตามเกณฑ์ของตนเอง ศึกษาการสังเกตเมฆตาม
วิธีการที่น่าเชื่อถือ สังเกตเมฆ และบันทึกข้อมูล)
2. ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในประเด็นดังนี้ หากนักเรียนสังเกตเมฆในท้องฟ้า นักเรียนคิดว่าควรจะ
ได้ข้อมูลอะไรบ้างและจะมีวิธีบอกปริมาณเมฆในท้องฟ้าได้อย่างไร
3. ให้นักเรียนสังเกตและวาดภาพเมฆ จ าแนกเมฆที่พบตามเกณฑ์ของตนเอง และบอกปริมาณเมฆใน
ท้องฟ้าตามวิธีการที่ได้อภิปรายร่วมกันจากข้อ 1 แล้วน าเสนอ
4. ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของเมฆ การจ าแนกเมฆตามเกณฑ์มาตรฐานของนักวิทยาศาสตร์และ
วิธีการตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุม จากนั้นให้นักเรียนวางแผนการสังเกตเมฆในช่วงเช้า กลางวัน และเย็น
ตามล าดับ โดยนักเรียนอาจท ากิจกรรมเสริม ท าอย่างไรจึงสังเกตได้ง่ายขึ้น
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
1. ให้นักเรียนตอบค าถามท้ายกิจกรรม จากนั้นน าเสนอ และอภิปรายค าตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุป
ว่า เมฆมีหลายรูปร่างลักษณะ ในแต่ละช่วงเวลาของวัน ปริมาณเมฆและลักษณะเมฆแตกต่างกันไป
2. ให้นักเรียนร่วมกัน อภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อ สรุปว่า เมฆมีหลายลักษณะ
การจัด ประเภทเมฆจัด โดยใช้ลักษณะและความสูงเป็นเกณฑ์ เมฆและฝนมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับปัจจัย
ต่าง ๆ ปัจจัยที่ท าให้เมฆมีการเปลี่ยนแปลงได้แก่ ปริมาณไอน้ าในอากาศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่ส่งผล
ต่อปริมาณไอน้ าในอากาศ อุณหภูมิอากาศ ฤดูและ ลมนอกจากนี้ยังมีปัจจัยที่ท าให้ฝนมีการเปลี่ยนแปลงเช่น
ปริมาณเมฆ ฤดูกาล พื้นที่หรือภูมิภาค และสภาพภูมิประเทศ
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
ั
1. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปจจัยที่ท าให้เมฆเปลี่ยนแปลงในหนังสือเรียนและตอบ
ค าถามระหว่างเรียน
2. น าเข้าสู่การเรียนรู้เรื่องฝน โดยถามค าถามทบทวนความรู้ในประเด็น หยาดน้ าฟ้าคืออะไร เกิดขึ้น
ได้อย่างไร โดยให้นักเรียนศึกษาจากบทเรียนการ์ตูนเรื่อง หยาดน้ าปริศนา
3. ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเกี่ยวกับฝน ในหนังสือเรียน แล้วตอบค าถามระหว่างเรียน จากนั้นร่วมกัน
อภิปรายค าตอบ
4. ให้นักเรียนท ากิจกรรมเสริม ปริมาณฝนวัดได้อย่างไร
5. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ และ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศและการเกิดสภาพลมฟ้าอากาศอากาศลักษณะต่าง ๆ โดยครู
อาจใช้ค าถามเพิ่มเติม เช่น เมื่ออุณหภูมิอากาศในพื้นที่หนึ่งเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศ
หรือลมอย่างไรบ้าง องค์ประกอบลมฟ้าอากาศใดมีความสัมพันธ์กันบ้าง และสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อให้ได้