Page 103 - แผนการสอน 63-2
P. 103
77
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว เรื่อง เมฆและฝน
รหัส ว 21104 ชื่อรายวิชา วิทยาศาสตร์2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 3 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด
เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ
ิ
สิ่งแวดล้อมรวมทั้งน าเสนอแนวทางการปฏบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้
วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
สาระส าคัญ
สภาพพื้นผิวของโลกแต่ละแห่งแตกต่างกัน ท าให้ความสามารถในการดูดซับความร้อนต่างกัน เป็นผล
ให้ความกดอากาศในแต่ละแห่งต่างกัน จึงเกิดการเคลื่อนที่ของอากาศที่เรียกว่า ลม หากเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
และแรงจะกลายเป็น พายุ
สาระการเรียนรู้
พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการที่อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ระดับความสูงที่มี
อุณหภูมิต่ าลงจนกระทั่งไอน้ าในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ า และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆขนาดใหญ่
พายุฝนฟ้าคะนองท าให้เกิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและ
ทรัพย์สิน
พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเลที่น้ ามีอุณหภูมิสูงตงแต่ 26 - 27 องศาเซลเซียส ขึ้นไป
ั้
ท าให้อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงบริเวณนั้นเคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นบริเวณ
กว้าง อากาศจากบริเวณอื่นเคลื่อนเข้ามาแทนที่และพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางของพายุ ยิ่งใกล้ศูนย์กลาง
อากาศจะเคลื่อนที่พัดเวียนเกือบเป็นวงกลมและมีอัตราเร็วสูงที่สุด พายุหมุนเขตร้อนท าให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง
ฝนตกหนัก ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงควรปฏิบัติตนให้ปลอดภัยโดยติดตามข่าวสารการ
พยากรณ์อากาศ และไม่เข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงภัย