Page 225 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 225
๒๑๒
ไป ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 เป็นแต่เพียงให้อ านาจพิเศษแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอ าเภอที่จะยึด
ื่
้
ทรัพย์สินของผู้ค้างช าระภาษีอากรเพอขายทอดตลาดได้โดยไม่ต้องฟองต่อศาลเท่านั้น ไม่ได้บัญญัติห้ามไว้
ิ
ว่าเมื่อยึดมาแล้วมิให้เจ้าหนี้ตามค าพพากษาของลูกหนี้ท าการยึดหรือห้ามศาลไม่ให้สั่งขายทอดตลาดทรัพย์
ื่
ที่ยึด ฉะนั้น เมื่อทรัพย์ที่ยึดไว้ยังไม่ได้ท าการขายทอดตลาดไป เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ย่อมท าการยึดเพอ
ด าเนินการตามค าสั่งศาลได้ ส่วนสิทธิของกรมสรรพากรตามประมวลรัษฎากรในการที่จะได้รับช าระหนี้ค่า
ภาษีอากรที่ค้างมีอยู่อย่างไร ก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายที่มีบัญญัติไว้
6
ิ
ค าพพากษาศาลฎีกา ที่ 8191/2557 คดีนี้ผู้ขอเฉลี่ยทรัพย์คือกรมสรรพากร ซึ่งมิใช่เจ้าหนี้ตาม
่
ค าพิพากษา แต่กรมสรรพากรใช้สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 290 วรรคสามซึ่ง
ิ
กรณีเจ้าหนี้ร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ของลูกหนี้ตามค าพพากษานั้น ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง
ิ
่
มาตรา 290 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ห้ามมิให้ศาลอนุญาตตามค าขอเช่นว่านี้ เว้นแต่ศาล
เห็นว่าผู้ยื่นค าขอไม่สามารถเอาช าระได้จากทรัพย์สินอน ๆ ของลูกหนี้ตามค าพพากษา หมายความว่า ในการขอ
ื่
ิ
เฉลี่ยทรัพย์นั้นหากผู้ร้องน าสืบได้ว่าขณะที่ผู้ร้องยื่นค าร้องขอเฉลี่ยทรัพย์สินของลูกหนี้ตามค าพพากษา
ิ
ี
ไม่พอช าระหนี้ของผู้ร้องได้โดยสิ้นเชิงก็ย่อมเพยงพอที่จะยื่นค าร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ได้แล้ว แม้ผู้ร้องมีนาย ป.
มาเป็นพยานเบิกความเพยงปากเดียว แต่พยานปากนี้เป็นผู้ด าเนินการเร่งรัดภาษีอากรค้างของจ าเลยมา
ี
โดยตลอดและได้เบิกความถึงการตรวจสอบไปยังส านักงานที่ดินแล้ว ไม่ปรากฏว่าจ าเลยมีชื่อเป็นผู้ถือ
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ส่วนสิทธิเรียกร้องในเงินฝากธนาคารของจ าเลย ผู้ร้องก็ได้ท าการอายัดมาช าระหนี้ภาษี
อากรค้างได้เพยง 8,374.32 บาทเท่านั้น ไม่พอช าระหนี้ภาษีอากรที่ค้างช าระผู้ร้องเป็นเงินถึง
ี
2,715,804.95 บาท โดยสิ้นเชิง เมื่อขณะที่ผู้ร้องยื่นค าร้องขอเฉลี่ยทรัพย์คดีนี้ไม่ปรากฏว่าจ าเลยยังมี
ทรัพย์สินอย่างอนที่ผู้ร้องสามารถน ามาช าระหนี้ค้างช าระได้อก ถือได้ว่าขณะที่ผู้ร้องยื่นค าร้องขอเฉลี่ย
ี
ื่
ทรัพย์คดีนี้ผู้ร้องไม่สามารถเอาช าระหนี้จากทรัพย์สินอนของจ าเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ตามค าพพากษา
ื่
ิ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าวแล้ว ผู้ร้องจึงมีสิทธิขอเฉลี่ยในทรัพย์สินที่โจทก์น าเจ้าพนักงานบังคับ
7
คดียึดและอายัดในคดีนี้ได้
ดังนี้จะเห็นได้ว่าเจ้าพนักงานภาษีอากรผู้ท าการยึดหรืออายัดทรัพย์ไว้ก่อน มิได้ท าให้เกิดสิทธิใน
การยึดหรืออายัดอย่างเด็ดขาด เจ้าหนี้ตามค าพิพากษาสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์ที่เจ้าพนักงานภาษีอากร
ได้ยึดหรืออายัดไว้ก่อนได้ ไม่เป็นการยึดซ้ า ท าให้เจ้าพนักงานภาษีอากรที่ยึดหรืออายัดทรัพย์ไว้ก่อนใน
ระหว่างที่ยังขายทอดตลาดทรัพย์สินไม่ได้ ต้องคอยตรวจสอบว่าทรัพย์สินที่ได้ยึดหรืออายัดไว้ได้ถูกเจ้าหนี้
ื่
ตามค าพพากษาอนยึดหรืออายัดไว้ในคดีอนหรือไม่ด้วย เพอจะได้ยื่นค าร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ภายในก าหนด
ื่
ิ
ื่
ระยะเวลาตามกฎหมาย
4.3 ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดในชั้นมาตรการทางปกครอง หากเกิดปัญหา
เจ้าของทรัพย์สิน (ผู้ค้างภาษีอากร) หรือบริวารมิได้ออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นั้น ผู้ซื้อทรัพย์สินจะต้องไป
ฟ้องเป็นคดีเรื่องใหม่
ิ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา 334 (มาตรา 309 ตรี เดิม) บัญญัติว่า
่
เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีโอนอสังหาริมทรัพย์ที่ขายให้แก่ผู้ซื้อ หากทรัพย์สินที่โอนนั้นมีลูกหนี้ตาม
ิ
ค าพพากษาหรือบริวารอยู่อาศัย และลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารไม่ยอมออกไปจากอสังหาริมทรัพย์
ิ
นั้น ผู้ซื้อชอบที่จะยื่นค าขอฝ่ายเดียวต่อศาลที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ในเขตศาลให้ออกหมายบังคับคดี
6 ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 1094/2510
7
ค าพิพากษาศาลฎีกา ที่ 8191/2557