Page 228 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 228
๒๑๕
เห็นว่า ประมวลรัษฎากรและพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 ได้วางหลักการใช้
มาตรการทางปกครองดังกล่าวไว้ค่อนข้างครอบคลุม กล่าวคือ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 และ
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 มาตรา 143 และ 144 ให้อานาจในการยึด อายัด และขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร รวมทั้งหุ้นส่วนประเภทไม่จ ากัดความรับผิด และตามประมวล
รัษฎากร มาตรา 12 ตรี และพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 มาตรา 148 การออก
ั
หมายเรียกผู้ต้องรับผิดช าระภาษีอากรค้าง และบุคคลใด ๆ ที่มีเหตุอนควรเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์แก่การ
ื่
ั
จัดเก็บภาษีอากรค้างมาให้ถ้อยค า และให้บุคคลดังกล่าวน าบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอนอนจ าเป็นแก่
การจัดเก็บภาษีอากรค้างมาตรวจสอบ รวมทั้งออกค าสั่งให้เจ้าพนักงานตรวจค้นหรือยึดบัญชี เอกสาร หรือ
ื่
หลักฐานอนของบุคคลดังกล่าว แต่พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 มาตรา 24 ก าหนดเงื่อนไขให้
กรมศุลกากรด าเนินการกักของตามมาตรา 23 และขายทอดตลาดเสียก่อน จึงให้อานาจอธิบดีมีค าสั่งยึด
หรืออายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียอากร จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ.2560 ให้มีความสอดคล้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับประมวลรัษฎากรและพระราชบัญญัติ
ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 โดยเฉพาะควรแก้ไขพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 มาตรา 24 วรรค
หนึ่ง เป็นว่า “ในการบังคับค่าอากรที่ค้างช าระ หากกรมศุลกากรได้ด าเนินการตามมาตรา 23 แล้ว ยังไม่ได้
ื่
รับค่าอากรหรือได้รับไม่ครบถ้วน หรือกรณีอนใดที่กรมศุลกากรไม่อาจด าเนินการตามมาตรา 23 ได้
ให้อธิบดีมีอานาจสั่งยึดหรืออายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียอากรได้ทั่วราชอาณาจักร
โดยมิต้องขอให้ศาลออกค าสั่ง” เพอให้กรมศุลกากรด าเนินการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินผู้ค้าง
ื่
อากรได้เช่นเดียวกับกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิต รวมทั้งกรมศุลกากรควรจัดให้มีระเบียบกรม
ศุลกากร ว่าด้วยการยึดทรัพย์สินของผู้ค้างช าระอากร พ.ศ... และระเบียบกรมศุลกากร ว่าด้วยการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างช าระอากร พ.ศ... เช่นเดียวกับกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิต
2. กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัดและ
ขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร
เห็นว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องอบรมให้ความรู้ หลักกฎหมาย ระเบียบและค าสั่งในการ
เร่งรัดช าระภาษี การยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างช าระภาษี และวางแนวทางให้ชัดเจน
เพราะในแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ปฏิบัติต่างกัน และผลักดันให้ผู้บริหารท้องถิ่นใช้อานาจ
ดังกล่าวเพื่อให้กฎหมายมีประสิทธิภาพ หากไม่ด าเนินการอย่างจริงจัง กฎหมายก็จะไม่ถกบังคับใช้ ในข้อนี้
ู
ั
ตามพระราชบัญญัติองค์กรอยการและพนักงานอยการ พ.ศ. 2553 มาตรา 14 ก าหนดว่า พนักงาน
ั
อัยการมีอานาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้ ...(3) ในคดีแพ่ง หรือคดีปกครอง มีอ านาจและหน้าที่ด าเนินคดีแทน
รัฐบาล หน่วยงานของรัฐที่เป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ราชการส่วนกลาง หรือราชการส่วนภูมิภาคในศาล
ื่
หรือในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการทั้งปวง กับมีอานาจและหน้าที่ตามกฎหมายอนซึ่งบัญญัติว่าเป็น
อ านาจและหน้าที่ของส านักงานอัยการสูงสุดหรือพนักงานอัยการ ... (5) ในคดีแพ่ง คดีปกครอง หรือกรณีมี
ข้อพพาทที่ต้องด าเนินการทางอนุญาโตตุลาการที่หน่วยงานของรัฐซึ่งมิได้ว่ากล่าวใน (3) หรือนิติบุคคลซึ่ง
ิ
มิใช่หน่วยงานของรัฐ แต่ได้มีพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้นเป็นคู่กรณีและมิใช่กรณีที่เป็น
ข้อพพาทกับรัฐบาลหรือระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง เมื่อเห็นสมควรพนักงานอยการจะรับว่าต่าง
ั
ิ
ั
หรือแก้ต่างให้ก็ได้ ดังนั้น กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งส านวนไปยังพนักงานอยการ ส านักงานคดี
ั
ั
ื่
ภาษีอากร ส านักงานอยการสูงสุด เพอให้ด าเนินการว่าต่างฟองผู้ค้างช าระภาษี หากพนักงานอยการตรวจ
้
ส านวนพบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัดและขาย