Page 227 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 227
๒๑๔
ได้แก่ ประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560 และพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต
พ.ศ.2560 ได้บัญญัติให้อานาจอธิบดีกรมสรรพากร อธิบดีกรมศุลกากร และอธิบดีกรมสรรพสามิต
ออกค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินผู้ค้างภาษีอากร แต่กฎหมายทั้งสามฉบับได้บัญญัติในส่วน
นี้แตกต่างกัน กรมสรรพากรมีกฎหมายและระเบียบที่บังคับใช้มานาน มีหน่วยงานเร่งรัดภาษีอากรค้าง
ทั่วประเทศ กรมสรรพสามิตมีกฎหมายและระเบียบที่วางแนวทางแบบกรมสรรพากร แต่กรมศุลกากร
มีกฎหมายและระเบียบที่แตกต่างจากกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิต ท าให้กรมศุลกากรยังไม่เคยบังคับ
ใช้มาตรการดังกล่าว
2. ปัญหาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด
อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจ านวน
บุคลากรน้อยและยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านภาษีอากรและการบังคับใช้กฎหมาย ผู้บริหารท้องถิ่นมา
จากการเลือกตั้ง ผู้เสียภาษีเป็นบุคคลในท้องถิ่นนั้นๆ การบังคับใช้กฎหมายจึงท าได้ไม่เต็มที่
3. ปัญหาหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้ประเมินภาษีไม่มั่นใจว่าการประเมินภาษีชอบด้วยกฎหมาย
ิ
หรือไม่ เนื่องจากเมื่อประเมินภาษีแล้ว ผู้ถูกประเมินอาจอทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพจารณา
ุ
ุ
้
ุ
อทธรณ์ หากไม่พอใจผลการอทธรณ์ก็อาจยื่นฟองต่อศาลภาษีอากรได้ พนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะด าเนินการ
บังคับใช้มาตรการทางปกครองเกรงว่าหากผลการพจารณาเปลี่ยนแปลงไป การใช้มาตรการดังกล่าวจะท า
ิ
้
ื่
ให้เกิดความเสียหายและจะมีความผิดไปด้วย จึงเลือกที่จะฟองคดีต่อศาลภาษีอากรเสียก่อนเพอให้ศาลได้
พิจารณาและพิพากษา และจะได้บังคับคดีตามค าพิพากษาต่อไป
4. ปัญหาในทางปฏิบัติของการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร
เนื่องจากการด าเนินมาตรการดังกล่าวมีขั้นตอนที่ต้องตรวจสอบทรัพย์สิน ขออนุมัติยึดอายัดซึ่งต้องใช้
ระยะเวลา การที่จะได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ในขณะที่ด าเนินมาตรการดังกล่าว
อยู่ ผู้ค้างช าระภาษีหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัดสามารถยื่นค าคัดค้าน
ิ
้
ื่
ค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดได้ และยื่นฟองต่อศาลภาษีอากรกลางเพอขอให้พจารณาพพากษาเพก
ิ
ิ
ถอนค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดด้วย ท าให้กระบวนการบังคับตามมาตรการดังกล่าวอาจต้องชะลอ
ออกไป และท าให้เป็นคดีสาขาอีกคดีหนึ่ง และแม้เจ้าพนักงานภาษีอากรได้ท าการยึดหรืออายัดทรัพย์สินไว้
แล้ว เจ้าพนักงานต้องเก็บรักษาทรัพย์สินและต้องคอยระมัดระวังตรวจสอบว่ามีเจ้าหนี้ตามค าพพากษาคดี
ิ
อื่นได้ท าการยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ถูกเจ้าพนักงานภาษีอากรยึดหรืออายัดไว้ก่อนหรือไม่เพอเจ้าพนักงาน
ื่
ี
ภาษีอากรจะได้ยื่นค าร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ได้ทันภายในระยะเวลาที่กฎหมายก าหนด อกทั้งการซื้อทรัพย์จาก
เจ้าพนักงานภาษีอากร หากลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารไม่ออกจากอสังหาริมทรัพย์นั้นๆ ผู้ซื้อทรัพย์
ิ
ต้องฟองขับไล่เป็นคดีใหม่ ผู้ซื้อทรัพย์ไม่อาจยื่นค าร้องให้ศาลออกหมายบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธี
้
พจารณาความแพง มาตรา 334 ได้ ท าให้เห็นว่าการยึด อายัดและขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานภาษี
่
ิ
อากรไม่ได้มีกฎหมายรองรับทัดเทียมกับเจ้าพนักงานบังคับคดี
ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาปัญหาการบังคับใช้มาตรการทางปกครองโดยวิธีการยึด อายัดและขายทอดตลาด
้
ทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรข้างต้น ผู้เขียนขอเสนอแนะแนวทางในการแกไขปัญหาที่เกิดขึ้น ดังนี้
1. กรณีกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับวิธีการบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัด
และขายทอดตลาดของกรมศุลกากรแตกต่างจากกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิต