Page 230 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 230

๒๑๗




                 ไว้แทนทรัพย์สินนั้น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
                 พ.ศ.2562 มาตรา 66 ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษีตามมาตรา 62 จะกระท า
                                                     ุ
                                                                                ้
                 มิได้ในระหว่างระยะเวลาที่ให้คัดค้านหรืออทธรณ์ตามมาตรา 73 หรือให้ฟองคดีต่อศาลตามมาตรา 82
                                   ิ
                                                                ุ
                 และตลอดเวลาที่การพจารณาและวินิจฉัยค าคัดค้านหรืออทธรณ์ดังกล่าวยังไม่ถึงที่สุด และพระราชบัญญัติ
                 ภาษีป้าย พ.ศ.2510 มาตรา 21 วรรคสาม ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้ใน
                 ระหว่างระยะเวลาอทธรณ์ตามมาตรา 30 มาตรา 31 มาตรา 32 หรือมาตรา 33 เว้นแต่ทรัพย์สินนั้นจะ
                                 ุ
                 เป็นของเสียง่าย  ซึ่งประมวลรัษฎากร และพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 มิได้ก าหนดห้ามมิให้ขาย
                                                                   ิ
                                                                                  ุ
                 ทอดตลาดในกรณีดังกล่าว ดังนั้น เมื่อคดีอยู่ระหว่างการพจารณาของศาลอทธรณ์หรืออยู่ระหว่างการ
                                                                      ุ
                                                                                     ิ
                  ิ
                 พจารณาของศาลภาษีอากรกลาง กรณีจึงไม่แน่ว่าผลค าวินิจฉัยอทธรณ์หรือผลค าพพากษาจะเป็นอย่างไร
                 และเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์สิน หากแก้ไขประมวลรัษฎากรและพระราชบัญญัติศุลกากร
                 พ.ศ.2560 ก าหนดให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560
                 พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510
                 โดยก าหนดว่า “การขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้ในระหว่างระยะเวลาอทธรณ์ หรือระยะเวลาที่
                                                                                    ุ
                 ให้ยื่นฟองคดีต่อศาล และตลอดระยะเวลาที่ท าการพจารณาอทธรณ์หรือพจารณาคดีของศาล เว้นแต่เป็น
                                                                    ุ
                                                             ิ
                                                                              ิ
                       ้
                                                                                       ื่
                 ของสดของเสียได้ให้อธิบดีมีอ านาจที่จะขายได้ทันทีโดยวิธีการขายทอดตลาดหรือวิธีอนที่สมควรและได้เงิน
                                                                                       ิ
                                                                             ุ
                 เป็นจ านวนสุทธิเท่าใดให้ยึดไว้แทนทรัพย์สินนั้น” ก็จะท าให้กรณีมีการอทธรณ์หรือพจารณาคดีในชั้นศาล
                                                       ิ
                 แล้วผลการพจารณาเปลี่ยนแปลงไป เช่นให้เพกถอนการประเมิน ก็จะไม่ท าให้เกิดความเสียหายกับผู้ค้าง
                            ิ
                 ภาษีอากรหรือผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด
                        4. กรณีการบังคับใช้มาตรการทางปกครองโดยการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของ
                 ผู้ค้างภาษีอากรมีสภาพบังคับยังไม่เท่าเทียมกับการยึด อายัดและขายทอดตลาดในชั้นบังคับคดี
                               ๔.๑ เมื่อเจ้าพนักงานได้ท าการยึด อายัดและอยู่ระหว่างด าเนินการขายทอดตลาด แต่ผู้ค้าง
                 ภาษีหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียอาจยื่นค าคัดค้านค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดได้ รวมทั้งฟอง
                                                                                                      ้
                                          ิ
                 คดีต่อศาลภาษีอากรกลางให้เพกถอนค าสั่งดังกล่าว เห็นว่า ตามหลักการจัดเก็บภาษีที่ดีต้องมีประสิทธิภาพ
                 และเป็นธรรม ดังนั้นในการเร่งรัดจัดเก็บภาษีอากรค้างกับผู้ค้างช าระภาษี เจ้าพนักงานควรด าเนิน
                 กระบวนการเตือน สอบสวนทรัพย์ และบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัด และขาย
                 ทอดตลาดทรัพย์สินเพอน าเงินมาช าระหนี้ภาษีอากรค้างโดยมิชักช้า แต่กระบวนการดังกล่าวก็ต้องด าเนิน
                                   ื่
                 ไปด้วยความเป็นธรรม กฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ผู้ค้างช าระภาษีอากรหรือผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ถูกยึด
                 หรืออายัด ได้เข้ามาคัดค้านค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดได้ รวมทั้งปัจจุบันผู้ค้างช าระภาษีอากรหรือ
                                                                    ื่
                 ผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ถูกยึดหรืออายัดได้ยื่นฟองต่อศาลเพอให้เพกถอนค าสั่งดังกล่าวด้วย ดังนี้หากมี
                                                                          ิ
                                                         ้
                 กฎเกณฑ์มิให้คัดค้านเสียเลยหรือหากก าหนดให้ค าสั่งของหน่วยงานจัดเก็บภาษีผู้ท าการยึดหรืออายัดเป็น

                 ที่สุด ก็อาจจะท าให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับความเสียหายได้ จึงควรก าหนดให้ผู้มีอานาจหรือศาลด าเนินการ
                                                                                         ิ
                 พจารณาคดีลักษณะนี้โดยเร็ว แต่คดีลักษณะนี้เมื่อผู้มีอานาจออกค าสั่งดังกล่าวเป็นผู้พจารณาค าคัดค้าน
                  ิ

                 มาแล้ว หากมีการยื่นฟองต่อศาลและศาลพิจารณาไต่สวนคดีลักษณะนี้ ควรก าหนดให้ค าสั่งศาลชั้นต้นเป็น
                                    ้
                 ที่สุด เนื่องจากเป็นคดีที่วินิจฉัยได้จากพยานเอกสารและไม่ซับซ้อน

                               ๔.๒ เมื่อเจ้าพนักงานผู้มีอานาจตามกฎหมายว่าด้วยภาษีอากรได้ท าการยึดและอายัด
                                                                                            ื่
                 ทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรไว้ก่อนแล้ว ก็ต้องระมัดระวังว่าเจ้าหนี้ตามค าพพากษาคดีอนได้ท าการยึด
                                                                                  ิ

                 อายัดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรด้วยหรือไม่ ซึ่งหากเกิดกรณีดังกล่าวเจ้าพนักงานผู้มีอานาจตาม
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235