Page 226 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 226
๒๑๓
ื่
ิ
เพอบังคับให้ลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นั้น โดยให้น าบทบัญญัติมาตรา
271 มาตรา 278 วรรคหนึ่ง มาตรา 351 มาตรา 352 มาตรา 353 วรรคหนึ่ง (1) และวรรคสอง
มาตรา 354 มาตรา 361 มาตรา 362 มาตรา 363 และมาตรา 364 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้
ิ
ให้ถือว่าผู้ซื้อเป็นเจ้าหนี้ตามค าพพากษาและลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารที่อยู่อาศัยใน
ิ
ิ
อสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นลูกหนี้ตามค าพพากษาตามบทบัญญัติดังกล่าว
เห็นได้ว่า การซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดในชั้นมาตรการทางปกครองนั้น หากปรากฏว่ามี
ื่
บุคคลอนอาศัยอยู่ในอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นเหตุให้ผู้ซื้อไม่สามารถเข้าครอบครองและใช้ประโยชน์ใน
อสังหาริมทรัพย์นั้นได้ ผู้ซื้อทรัพย์ต้องฟองขับไล่ผู้ที่อยู่อาศัยโดยไม่มีสิทธิเป็นคดีต่างหากเอง หน่วยงาน
้
จัดเก็บภาษีอากรต่างๆ ยังไม่มีมาตรการคุ้มครองสิทธิผู้ซื้อทรัพย์ในกรณีดังกล่าว เป็นการสร้างภาระให้แก่
ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาด ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการน าคดีขึ้นสู่ศาล ซึ่งต่างจากผู้ซื้อทรัพย์
จากการขายทอดตลาดทรัพย์สินโดยเจ้าพนักงานบังคับคดีที่สามารถใช้สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธี
่
ิ
พจารณาความแพง มาตรา ๓๓๔ โดยยื่นค าขอฝ่ายเดียวต่อศาลที่อสังหาริมทรัพย์ตั้งอยู่ในเขตศาลให้ออก
ิ
หมายบังคับคดีให้ลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นั้นโดยไม่ต้องฟองขับไล่
้
ิ
เป็นคดีใหม่ หากลูกหนี้ตามค าพพากษาหรือบริวารหรือบุคคลอนใดไม่ยอมปฏิบัติตามค าสั่งศาล
ื่
เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอ านาจด าเนินการตามกฎหมายให้ผู้ซื้อทรัพย์เข้าครอบครองทรัพย์ต่อไป ซึ่งเป็นการ
คุ้มครองสิทธิของผู้ซื้อทรัพย์ได้จากการขายทอดตลาดและท าให้การขายทอดตลาดเกิดความเป็นธรรมมาก
ยิ่งขึ้น ผลกระทบจากการไม่ได้ก าหนดระเบียบปฏิบัติให้ชัดเจน ในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีของผู้ซื้อ
อสังหาริมทรัพย์จากการขายทอดตลาดในชั้นมาตรการทางปกครองส่งผลให้การประมูลซื้อขายทรัพย์สิน
้
เป็นไปด้วยความล่าช้ากว่าที่ผู้ซื้อทรัพย์ได้จะฟองร้องบังคับคดีเสร็จสิ้น ท าให้การขายทอดตลาดไม่ค่อยมี
ผู้สนใจเข้าสู้ราคา ส่งผลให้โอกาสในการขายทรัพย์สินให้ได้ราคามีน้อยลง และมีผลกระทบกับผู้ค้างภาษี
8
อากร
บทสรุป
กฎหมายบัญญัติให้อานาจหน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด
้
อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรได้โดยไม่จ าต้องฟองคดีต่อศาลก่อน แสดงให้เห็นว่า
์
กฎหมายมีเจตนารมณให้หน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรสามารถเร่งรัดจัดเก็บภาษีอากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ึ้
และรวดเร็ว แต่สภาพปัญหาที่เกิดขนพบว่าหน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรเลือกที่จะฟ้องคดีกับผู้ค้างภาษีอากร
เพอจะได้บังคับคดีตามค าพพากษา โดยไม่ใช้มาตรการยึด อายัดและขายทอดตลาดกับผู้ค้างภาษีอากร
ื่
ิ
เสียก่อน เนื่องจากในทางปฏิบัติเกิดข้อข้อง ดังนี้
1. ปัญหากฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับวิธีการบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด
อายัดและขายทอดตลาดของกรมศุลกากรแตกต่างจากกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิต ซึ่งทั้งสาม
หน่วยงานเป็นหน่วยงานของรัฐสังกัดกระทรวงการคลัง มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร อาจแตกต่างกันในแต่ละ
่
ประเภทภาษี แต่เมื่อบุคคลใดไม่ช าระคาภาษีอากรหรือค้างช าระคาภาษีอากร กฎหมายของแต่ละหน่วยงาน
่
8 ศักดา อึ้งประเสริฐ (2559) ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการยึด อายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้าง
ภาษีอากร.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :http://www.dorm.kbu.ac.th Student Tenses pdf (วันที่ค้นข้อมูล 25 เมษายน
2564)