Page 229 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 229
๒๑๖
ื่
ั
ทอดตลาดทรัพย์สิน พนักงานอยการควรคืนส านวนไปเพอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้มาตรการ
ดังกล่าวเสียก่อนเพื่อเป็นการผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบังคับใช้มาตรการดังกล่าว
ส่วนกรณีการสอบสวนทรัพย์สินก็ควรแก้ไขกฎหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอานาจออก
ื่
หมายเรียกผู้ค้างภาษีหรือบุคคลอน เช่น ธนาคาร ให้ข้อมูลอนเป็นประโยชน์แก่การเร่งรัดภาษีอากรค้างได้
ั
เช่นเดียวกับที่ประมวลรัษฎากรและพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติให้อานาจ
กรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตไว้ก็จะท าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสอบสวนทรัพย์ได้มี
ประสิทธิภาพขึ้น ซึ่งจากพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 มาตรา 63 ก าหนดให้
ิ่
ผู้บริหารท้องถิ่นมีอานาจต่อผู้เสียภาษีเท่านั้น จึงควรแก้ไขเพมอานาจในส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีข้อมูล
ทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรให้ถ้อยค าหรือส่งเอกสารด้วยเพอประโยชน์ในการเร่งรัดภาษีอากรค้าง และ
ื่
ื่
ิ่
ควรเพมอานาจเช่นนี้ในพระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510 ด้วย ดังนี้ “เพอประโยชน์ในการยึดหรือ
อายัดทรัพย์สินตามมาตรา 62 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บริหารท้องถิ่นมี
อ านาจ (1) ออกหมายเรียกผู้เสียภาษี และบุคคลใด ๆ ที่มีเหตุอันควรเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์แกการจัดเก็บ
่
ภาษีอากรค้างมาให้ถ้อยค า
(2) สั่งบุคคลดังกล่าวใน (1) ให้น าบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอื่นอันจ าเป็นแก่การจัดเก็บภาษีค้าง
ช าระมาตรวจสอบ
ื่
(3) ออกค าสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าหน้าที่ท าการตรวจสอบ ค้น หรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอน
ของบุคคลดังกล่าวใน (1)
(4) เข้าไปในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหรือสถานที่อนที่เกี่ยวข้องในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึง
ื่
พระอาทิตย์ตกหรือในเวลาท าการของสถานที่นั้น ในการนี้ให้มีอานาจสอบถามบุคคลที่อยู่ในสถานที่นั้น
เท่าที่จ าเป็นเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี
การด าเนินการตาม (1) หรือ (2) ต้องให้เวลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับ
หนังสือเรียกหรือค าสั่ง และการออกค าสั่งและท าการตาม (3) หรือ (4) ต้องเป็นไปตามระเบียบที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศก าหนด”
3. ปัญหาเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติเกรงว่าหากด าเนินการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของ
ุ
ผู้ค้างภาษีอากรไปแล้ว ต่อมาคณะกรรมการพจารณาอทธรณ์หรือศาลภาษีอากรกลางได้วินิจฉัยหรือ
ิ
พพากษาให้เพกถอนการประเมิน จะท าให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ค้างภาษีอากรและบุคคลภายนอกผู้มีส่วน
ิ
ิ
ได้เสีย
ิ
ุ
เห็นว่าแม้มีค าพพากษาศาลฎีกาได้พพากษาว่าหากผู้เสียภาษีไม่อทธรณ์การประเมินต่อ
ิ
ั
ิ
ิ
คณะกรรมการพจารณาอทธรณ์ หนี้ภาษีตามการประเมินย่อมเป็นอนยุติ เทียบเคียงค าพพากษาศาลฎีกาท ี่
ุ
8103/2560 และเมื่อเป็นหนี้ภาษีอากรค้างแล้วเจ้าพนักงานมีอานาจยึด อายัดและขายทอดตลาด
ทรัพย์สินผู้ค้างภาษีอากรแม้ว่าผู้ค้างภาษีอากรได้ยื่นอทธรณ์ต่อคณะกรรมการพจารณาอทธรณ์เนื่องจาก
ุ
ิ
ุ
ิ
ุ
การอทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการช าระภาษี เทียบเคียงค าพพากษาศาลฎีกาที่ 1288/2530 , ค าพพากษา
ิ
ศาลฎีกาที่ 8296/2543 อย่างไรก็ตามกรณีของกรมสรรพสามิตได้มีพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต
พ.ศ.2560 มาตรา 143 วรรคสาม ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้ในระหว่าง
้
ระยะเวลาอทธรณ์ตามมาตรา 93 หรือระยะเวลาที่ให้ยื่นฟองคดีต่อศาลตามมาตรา 99 และตลอด
ุ
ิ
ุ
ระยะเวลาที่ท าการพจารณาอทธรณ์หรือพจารณาคดีของศาล เว้นแต่เป็นของสดของเสียได้ให้อธิบดีมี
ิ
อ านาจที่จะขายได้ทันทีโดยวิธีการขายทอดตลาดหรือวิธีอื่นที่สมควรและได้เงินเป็นจ านวนสุทธิเท่าใดให้ยึด