Page 231 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 231
๒๑๘
กฎหมายว่าด้วยภาษีอากรต้องด าเนินการยื่นค าขอเฉลี่ยทรัพย์หรือเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดหรือ
ิ
่
จ าหน่ายทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้ด้วยตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา 326 เห็นว่า
การที่เจ้าพนักงานของหน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรได้ด าเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร
ตามกฎหมายแล้ว ค าสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินจะถูกแจ้งไปยังผู้ค้างช าระภาษีอากร และแจ้งไปยัง
ิ
ส านักงานที่ดินหรือธนาคารผู้เกี่ยวข้อง ดังนั้นเจ้าพนักงานบังคับคดีหรือเจ้าหนี้ตามค าพพากษาที่จะท าการ
ยึดหรืออายัดทรัพย์สินดังกล่าวต้องทราบข้อมูลว่าเจ้าพนักงานภาษีอากรได้ท าการยึดหรืออายัดทรัพย์สินไว้
แล้ว เจ้าพนักงานภาษีอากรผู้ท าการเร่งรัดจะได้ไม่ต้องเฝ้าระวังในเรื่องระยะเวลาการยื่นค าร้องขอเฉลี่ย
ี
้
ทรัพย์อก หากพนก าหนดก็จะท าให้เสียหายแก่ราชการได้ และเป็นเหตุให้รัฐไม่อาจบังคับช าระหนี้เอากับ
ทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรได้ก่อนเจ้าหนี้รายอน แม้ว่าจะได้ใช้อานาจรัฐท าการยึดทรัพย์สินของผู้ค้าง
ื่
ภาษีอากรไว้ก่อนแล้วก็ตาม ดังนั้น จึงควรแก้ไขมาตรา 326 วรรคสาม เป็นว่า “ถ้าเจ้าพนักงานผู้มีอานาจ
ื่
ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีอากรหรือกฎหมายอนที่จะสั่งยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ตาม
ค าพิพากษา เพื่อบังคับช าระหนี้ที่ค้างช าระตามกฎหมายนั้นๆ ได้เอง ได้ยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้อง
ิ
ตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีหรือเจ้าหนี้ตามค าพพากษาที่ได้ยึดทรัพย์สินหรืออายัด
สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ตามค าพพากษาตามความในวรรคหนึ่ง แจ้งค าสั่งไปยังเจ้าพนักงานผู้มีอานาจ
ิ
ดังกล่าวเพื่อให้ยื่นค าร้องขอเฉลี่ยในทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานดังกล่าวได้ยึดหรืออายัดไว้ก่อนแล้วเช่นเดียวกับ
เจ้าหนี้ตามค าพพากษาตามความในวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ยึดหรืออายัด
ิ
แต่ถ้าเจ้าพนักงานมิได้ยึดหรืออายัดไว้ก่อน ให้ขอเฉลี่ยได้ภายในบังคับบทบัญญัติวรรคสอง ”
๔.๓ ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดในชั้นมาตรการทางปกครอง หากเกิดปัญหา
เจ้าของทรัพย์สิน (ผู้ค้างภาษีอากร) หรือบริวารมิได้ออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นั้น ผู้ซื้อทรัพย์สินจะต้องไป
ฟ้องเป็นคดีเรื่องใหม่ เพื่อฟ้องขับไล่เจ้าของทรัพย์สิน(ผู้ค้างภาษีอากร) หรือบริวารต่อศาลที่อสังหาริมทรัพย์
นั้นตั้งอยู่ในเขตศาลให้ออกไปจากอสังหาริมทรัพย์นั้น เห็นว่า ตามกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากร
เช่น ประมวลรัษฎากร พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510 ก าหนด
ิ
เรื่องวิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้น าวิธีการในประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพ่ง
มาใช้บังคับโดยอนุโลม ซึ่งเมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินไปแล้ว ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดควรได้รับ
ความคุ้มครองสิทธิเช่นเดียวกับผู้ที่ซื้อทรัพย์จากกรมบังคับคดี จึงเห็นควรแก้กฎหมาย มาตรา 334 แห่ง
่
ิ
ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง โดยเพมเติมวรรคสอง เป็นว่า “กรณีผู้ซื้อตามวรรคหนึ่ง ให้หมาย
ิ่
รวมถึงผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดจากเจ้าพนักงานผู้มีอานาจตามกฎหมายว่าด้วยภาษีอากรที่ได้ยึด
และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรไว้แล้ว” ซึ่งจะท าให้ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดใน
ชั้นเจ้าพนักงานผู้มีอ านาจตามกฎหมายว่าด้วยภาษีอากรมีความเชื่อมั่นและเกิดแรงจูงใจในการซื้อทรัพย์สิน
จากการขายทอดตลาด ช่วยประหยัดเวลา ไม่เป็นภาระในการไปฟองขับไล่เป็นคดีใหม่ อนเป็นการลด
้
ั
ค่าใช้จ่ายในการด าเนินคดี
จากข้อเสนอแนะดังกล่าวข้างต้นจะท าให้การยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี
อากรถูกยกระดับให้เท่าเทียมในชั้นบังคับคดี มีความสะดวก รวดเร็ว เป็นธรรมและมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
ื่
๕. เพอให้เกิดสัมฤทธิ์ผลในการบังคับใช้มาตรการทางปกครอง ศาลภาษีอากรกลางซึ่งเป็น
ิ
ศาลช านัญพเศษ ควรด าเนินการเชิงรุกโดยจัดให้มีการสัมมนาให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และบุคลากรใน