Page 234 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 234

๒๒๑



                 damage  to  the  plaintiffs  has  still  been  existing,  without  any  prompted  and  effective

                           .
                 protection   As  a  result, this  article mainly  focuses in  depth  on  the issues about  the
                                                                                           .
                 temporary measures prior to judgement of the court brought by the parties   Should the
                 court strictly applies section 254, 255 and 257 of the Civil Procedure Code, by aiming
                 the consideration on the solutions to the said problems, pursuant to the purpose of

                 bringing fairness to both parties, under the law, the winning party shall, in the end, be able

                                                                             .
                 to make the execution of judgement of the court thoroughly   Then justice will finally be
                 rendered to the party acting in good faith, as well as the court will be considered the

                 original protector of everyone.

                 Keywords : Temporary Measures prior to Judgement


                 บทน า


                                              ่
                                    การพจารณาคดีแพงซึ่งพพาทเกี่ยวด้วยทรัพย์สิน โดยเฉพาะคดีในศาลแพงกรุงเทพใต้ซึ่งมี
                                   ิ
                                                   ิ
                                                                                           ่
                 เขตอ านาจในพื้นที่ใจกลางเมืองกรุงเทพมหานคร คดีมีทุนทรัพย์สูง สลับซับซ้อน การเดิมพันแพ้ชนะคดีของ
                                                                                                   ุ
                                                                       ิ
                 คู่ความสูง คู่ความมีเทคนิคในการต่อสู้คดีมาก โดยเฉลี่ยใช้เวลาพจารณาในศาลชั้นต้น ๒ ปี ศาลอทธรณ์
                 ๑ ปี และศาลฎีกา ๑ ปี รวม ๔ ปี จากประสบการณ์ของผู้เขียนเมื่อสอบถามคู่ความมักได้รับค าตอบท านอง
                 เดียวกันว่า หลายคดีแม้ชนะคดีในที่สุด ก็ยากที่จะบังคับคดีเพอให้ได้รับช าระหนี้ตามค าพพากษาได้
                                                                       ื่
                                                                                               ิ
                                                           ้
                 เนื่องจากจ าเลยหรือโจทก์ในกรณีเป็นจ าเลยตามฟองแย้งได้ท าการยักยายถ่ายเททรัพย์สินไปจนหมดสิ้น
                          ้
                                                                                    ิ
                                                 ิ
                 แล้ว การฟองคดีจึงได้ไปแต่ผลของค าพพากษาเท่านั้น ดังนี้ วิธีการชั่วคราวก่อนพพากษาหรือการคุ้มครอง
                 ประโยชน์ระหว่างพจารณาตามบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง จึงเป็นเครื่องมือ
                                                                                        ่
                                                                           ิ
                                  ิ
                 ส าคัญของกฎหมายอนเป็นหลักประกันแก่ผู้ที่ใช้สิทธิทางศาลโดยสุจริตว่า เมื่อศาลพพากษาคดีถึงที่สุดแล้ว
                                                                                      ิ
                                  ั
                 ตนจะได้รับช าระหนี้ตามค าพิพากษาอย่างแท้จริง
                               เนื่องจากการใช้วิธีการชั่วคราวก่อนพพากษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อคู่ความมีค าขอใน
                                                               ิ
                 เหตุฉุกเฉินมาด้วย การพจารณาค าร้องต้องท าด้วยความรวดเร็วในเวลาอนจ ากัด จากปัญหาต่างๆ ที่กล่าว
                                                                             ั
                                     ิ
                 มาท าให้เกิดแนวความคิดว่าควรท าการศึกษาว่าศาลจะมีค าสั่งอย่างไร เมื่อคู่ความมีค าขอในเรื่องดังกล่าว
                 เข้ามาในคดีเพอใช้เป็นแนวทางในการพจารณาสั่งค าร้องของคู่ความ ซึ่งนอกจากจะต้องท าความเข้าใจต่อ
                             ื่
                                                  ิ
                 บทบัญญัติของกฎหมายแล้ว ยังต้องอาศัยค าพพากษาศาลฎีกาในคดีต่างๆ ที่วางหลักเกณฑ์ไว้
                                                            ิ
                 เพอประกอบการพิจารณาด้วย
                   ื่
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239