Page 239 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 239
๒๒๖
ิ
๔. ฎีกาที่ ๓๒๑-๓๒๓/๒๕๒๓, ๙๕๒/๒๕๔๑ ผู้ร้องขออายัดเงินไว้ชั่วคราวก่อนพพากษา
ในคดีเรื่องหนึ่งที่ผู้ร้องเป็นโจทก์ การอายัดชั่วคราวนี้ไม่ห้ามโจทก์ในคดีอกคดีหนึ่งที่อายัดทรัพย์สินของ
ี
ื่
ิ
ิ
จ าเลยนั้นเพอบังคับตามค าพพากษาได้ เมื่อได้ส่งเงินที่อายัดไปยังเจ้าพนักงานบังคับคดีตามค าพพากษา
แล้วการอายัดชั่วคราวของผู้ร้องสิ้นผล ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ตามค าพิพากษาในภายหลังจึงไม่มีสิทธิโต้แย้งได้
ิ
๕. ฎีกาที่ ๖๐๙๓/๒๕๓๔ การยึดทรัพย์สินของจ าเลยไว้ชั่วคราวก่อนพพากษาเป็นวิธีการ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๕๔(๑) มิใช่เป็นกรณีที่เจ้าพนักงานบังคับคดีได้ท า
ิ
่
ิ
ิ
การบังคับคดีโดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามค าพพากษาไว้แทนเจ้าหนี้ตามค าพพากษา
จึงไม่ต้องห้ามมิให้ยึดอายัดซ้ าตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๐
๖. ฎีกาที่ ๒๑๗๒/๒๕๑๙ ในกรณีที่โจทก์ขอให้อายัดสิทธิเรียกร้องที่บุคคลภายนอกต้อง
ช าระให้แก่จ าเลยตามมาตรา ๒๕๔(๑) สิทธิเรียกร้องนั้นต้องถึงก าหนดช าระด้วย ถ้าสิทธิเรียกร้องของ
จ าเลยที่มีต่อบุคคลภายนอกยังไม่ถึงก าหนดช าระ โจทก์จะขออายัดชั่วคราวไม่ได้ (ตามฎีกาข้างต้นเป็นกรณี
บุคคลภายนอกร้องขอให้ศาลเพกถอนค าสั่งอายัดที่ดิน ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าบุคคลภายนอกถูกโต้แย้งสิทธิ
ิ
ตามมาตรา ๕๕ จึงยื่นค าร้องได้ ผู้เขียนเห็นว่าหากพิจารณาให้ดีน่าจะถือว่าเป็นการร้องสอดเข้าเป็นคู่ความ
ตามมาตรา ๕๗ (๑) ด้วย)
๗. ฎีกา ๖๗๒/๒๕๑๔ ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ตามค าพพากษาของจ าเลยในคดีแพงเรื่องหนึ่ง
่
ิ
ี
และได้ยึดที่ดินของจ าเลยไว้ในคดีนั้นแล้ว ต่อมามีผู้อนฟองจ าเลยเป็นคดีอกเรื่องหนึ่งและขออายัดที่ดิน
ื่
้
แปลงดังกล่าวก่อนพพากษา ดังนี้ ผู้ร้องชอบที่จะมีค าขอให้ขายทอดตลาดที่ดินในคดีที่ผู้ร้องเป็นคู่ความ
ิ
ผู้ร้องไม่มีสิทธิขอให้ศาลมีค าสั่งถอนอายัดในคดีที่ผู้ร้องมิได้เป็นคู่ความด้วย และกรณีไม่ต้องด้วยข้อห้ามมิให้
ยึดซ้ าตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๓๒๖
่
ข้อสังเกต ค าวา “ยึด” ใช้กับทรัพย์สินของจ าเลย ส่วน “อายัด” ใช้กับสิทธิเรียกร้อง
้
ของจ าเลยที่มต่อบุคคลภายนอก ค าสั่งศาลที่ใช้ไขวเขวกันไมท าให้ค าสั่งนั้นเสียไป ฎีกาที่ ๑๘๗/๒๔๙๐
่
ี
แม้ค าสั่งศาลจะใช้ค าว่า “ยึด” หรือ “อายัด” ไขว้เขวกับ ก็ไม่ท าให้ค าสั่งนั้นเสียไป ต้องถือเอาลักษณะที่
แท้จริงตามกฎหมายของกรณีนั้นๆ (ฎีกาที่ ๑๑๐๙/๒๕๑๐ วินิจฉัยท านองเดียวกัน)
กรณีค าสั่งห้ามชั่วคราวตามมาตรา ๒๕๔(๒) แย่งออกเป็น ๒ กรณีคือ
ก. ค าสั่งห้ามชั่วคราวมิให้จ าเลยกระท าซ้ าหรือกระท าต่อไปซึ่งการละเมิด หรือการผิด
สัญญาหรือการกระท าที่ถูกฟองร้อง หรือมีค าสั่งเพอบรรเทาความเดือดร้อนเสียหายที่โจทก์อาจได้รับจาก
ื่
้
การกระท าของจ าเลย
ข. ค าสั่งห้ามชั่วครามิให้จ าเลยโอน ขาย ยักย้าย หรือจ าหน่ายทรัพย์สินที่พพาทหรือ
ิ
ทรัพย์สินของจ าเลย หรือมีค าสั่งให้หยุดหรือป้องกันการเปลืองไปเปล่าหรือการบุบสลายซึ่งทรัพย์สิน
ดังกล่าว