Page 243 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 243
๒๓๐
ิ
ทายาทตามพนัยกรรมของจ าเลยที่ ๑ และที่ประชุมบริษัทมีมติอนุมัติ โจทก์จึงยื่นค าร้องให้ก าหนดวิธีการ
ิ
ิ
่
ชั่วคราวก่อนพพากษาต่อศาล ค าร้องขอของโจทก์ต้องด้วยประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงมาตรา
้
๒๕๔(๓) ซึ่งโจทก์กล่าวอางในค าร้องแล้วว่า จ าเลยที่ ๒ และที่ ๓ จะด าเนินการให้มีการจดทะเยียนแก้ไข
เปลี่ยนแปลงทางทะเบียนกับทรัพย์สินที่พพาทให้แก่โจทกทายาทของจ าเลยที่ ๔ ซึ่งการด าเนินการจัดกล่าว
์
ิ
ิ
จะต้องให้เกิดความเสียหายแด่โจทก์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากทายาทจ าเลยที่ ๑ โอนทรัพย์สินที่พพาทให้แก่
บุคคลภายนอกต่อไป การบังคับคดีของโจทก์จะเกิดความยุ่งยากซับซ้อน หากข้อเท็จจริงเป็นดังที่โจทก์
ี
กล่าวอางย่อมเหตุผลพยงพอที่จะน าวิธีการคุ้มครองตามที่ขอนั้นมาใช้ได้ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ใน
้
่
มาตรา ๒๕๕(๓) (ก) การที่ศาลชั้นต้นยกค าร้องของโจทก์โดยไมไต่สวนให้ได้ความจริงเป็นเช่นไรก่อน จึงเป็น
การไม่ชอบ
ิ
จากค าพพากษาข้างต้นจะเห็นได้ว่า หากศาลชั้นต้นไต่สวนแล้วได้ความจริงตามค าร้อง
ศาลชั้นต้นต้องออกค าสั่งห้ามเปลี่ยนแปลงรายการผู้ถือหุ้นของจ าเลยที่ ๑ ในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของ
บริษัท ทั้งนี้เพราะประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๑๑๓๘ บัญญัติให้บริษัทจ ากัดต้องมีสมุด
่
ทะเบียนผู้ถือหุ้นซึ่งต้องลงรายละเอยดเกี่ยวกับหุ้นและผู้ถือหุ้นเพอเป็นการหลักฐานว่าผู้ใดบ้างเป็นผู้ถือหุ้น
ื่
ี
ผู้รับโอนหุ้นมีหน้าที่แจ้งบริษัทเพอจดแจ้งการโอนหุ้นลงในทะเบียนผู้ถือหุ้นตามมาตรา ๑๑๒๙ วรรคท้าย
ื่
และผู้ถือหุ้นชอบที่จะเรียกให้บริษัทส่งมอบส าเนาทะเบียนผู้ถือหุ้นเป็นหลักฐานว่าตนเองเป็นผู้ถือหุ้นได้ตาม
มาตรา ๑๑๔๐ ส่วนค าสั่งห้ามเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนส าหรับทรัพย์สินที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องจด
ทะเบียนนั้น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาลงเป็นไปตามที่กล่าวไว้ข้างต้น
อย่างไรก็ตามในกรณีที่โจทก์มีค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๓) แต่เนื้อหาของค าร้องและ
วัตถุประสงค์เป็นเรื่องขอคุ้มครองประโยชน์ในระหว่างพจารณา ศาลย่อมมีอานาจออกค าสั่งตามมาตรา
ิ
๒๖๔ ได้ (ฎีกาที่ ๕๕๐๙/๒๕๔๕) แต่ถ้าโจทก์มีค าขอฉุกเฉินมาด้วยน่าจะต้องยกค าร้องเพราะกรณีค าขอ
ตามมาตรา ๒๖๔ ผู้ขอจะขอให้ศาลไต่สวนโดยฉุกเฉินไม่ได้
ส่วนค าสั่งให้จับกุมหรือกักขังจ าเลยไว้ชั่วคราวตามมาตรา ๒๕๔(๔) ยังไม่พบค าพพากษา
ิ
ศาลฎีกาในคดีใดที่โจทก์ขอให้ศาลออกค าสั่งเช่นนี้ การที่ศาลจะออกค าสั่งได้ ต้องพจารณาตามหลักเกณฑ์
ิ
ข้างต้นประกอบมาตรา ๒๕๕(๔) ด้วย
ในคดีที่โจทก์ยื่นอทธรณ์หรือฎีกาและยื่นค าร้องตามมาตรา ๒๕๔ มาด้วย กรณีนี้ มาตรา
ุ
๒๕๔ วรรคท้าย บัญญัติให้ศาลชั้นต้นเป็นผู้สั่งค าร้องนั้น
ิ
๑. ฎีกาที่ ๒๗๖/๒๕๓๗ โจทก์ทั้งเจ็ดฟองขอให้จ าเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่กั้นทางพพาท
้
และยื่นค าร้องฉุกเฉินขอคุ้มครองประโยชน์ให้จ าเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวออก ศาลชั้นต้นมีค าสั่ง
อนุญาตให้จ าเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกชั่วคราว ต่อมาศาลชั้นต้นพพากษาให้โจทก์ชนะคดี แต่ศาลอทธรณ์
ิ
ุ
ิ
้
พพากษากลับให้ยกฟอง เช่นนี้ เมื่อโจทก์ฎีกาโดยยื่นค าร้องขอให้ศาลชั้นต้นมีค าสั่งห้ามจ าเลยปิดกั้น
ทางพพาทจนกว่าคดีจะถึงที่สุด ค าร้องนี้จึงเป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นมีอานาจสั่งได้ตามมาตรา ๒๕๔
ิ