Page 242 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 242
๒๒๙
ตัวอย่างค าสั่งห้ามชั่วคราวมิให้จ าเลยกระท าซ้ าหรือกระท าต่อไปซึ่งการผิดสัญญา
้
๑. ฎีกา ๑๘๖๘/๒๕๔๘ โจทก์ฟองขับไล่จ าเลยและบริวารออกไปจากที่ดินและสิ่งปลูก
สร้างของโจทก์ซึ่งจ าเลยเช่าโจทก์ แต่จ าเลยผิดสัญญาน าทรัพย์สินดังกล่าวไปให้ผู้อนเช่าช่วง และปลูกสร้าง
ื่
อาคารหรือยินยอมให้ผู้อนปลูกสร้างอาคารในที่ดินของโจทก์โดยไม่ได้รับอนุญาต โจทก์จึงยื่นค าร้องขอ
ื่
คุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณา ศาลชั้นต้นมีค าสั่งห้ามจ าเลยน าทรัพย์สินของโจทก์ตามฟองไปให้ผู้อน
ื่
้
ื่
เช่าช่วงจนกว่าคดีจะถึงที่สุด ค าสั่งดังกล่าวออกภายในขอบเขตแห่งความจ าเป็นเพอคุ้มครองโจทก์มิให้
เสียหายจากการกระท าผิดสัญญาของจ าเลย จึงชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๕๔(๒)
๒. ฎีกาที่ ๗๐๔/๒๕๔๕ โจทก์ฟองว่าจ าเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๐ ขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างให้
้
โจทก์แล้ว ต่อมาจ าเลยสมรู้ร่วมคิดกับจ าเลยที่ ๒๑ แสดงเจตนาลวงบุคคลภายนอกท านิติกรรมซื้อขายและ
จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินทั้งหมดเป็นของจ าเลยที่ ๒๑ จึงเห็นได้ว่าตามค าฟองของโจทก์หากจ าเลยที่
้
ื่
๒๑ โอนที่ดินพพาททั้งหมดให้แก่บุคคลอนในระหว่างพจารณาย่อมจะท าให้โจทก์ได้รับความเสียหาย
ิ
ิ
เพราะแม้โจทก์จะชนะคดีก็ไม่อาจโอนที่ดินพพาทกลับมาเป็นของโจทก์ได้ กรณีนับว่ามีเหตุจ าเป็นและ
ิ
ี
ิ
สมควรเพยงพอที่ โจทก์จะขอให้ศาลมีค าสั่งตาม ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงมาตรา ๒๕๔ (๒)
่
ิ
ประกอบมาตรา ๒๕๕(๒) ห้ามมิให้จ าเลยที่ ๒๑ โอนที่ดินพพาทแก่บุคคลอนจนกว่าศาลจะมีค าสั่ง
ื่
เปลี่ยนแปลงโดยให้โจทก์วางเงินประกันค่าเสียหาย
๓. ฎีกาที่ ๔๙๒๙/๒๕๔๐ โจทก์จ าเลยเข้าหุ้นกันประกอบกิจการภัตตาคาร มีข้อตกลงให้
โจทก์เก็บรายได้และรายจ่ายจากการประกอบกิจการซึ่งโจทก์จ าเลยได้ปฏิบัติตามข้อตกลงตลอดมา
๖ เดือน การที่จ าเลยห้ามโจทกและพนักงานของโจทก์จัดเก็บรายได้ตามข้อตกลงดังกล่าว เป็นเหตุให้โจทก์
์
้
ฟองว่าจ าเลยผิดสัญญาและเรียกค่าเสียหาย เป็นกรณีที่ถือได้ว่าจ าเลยตั้งใจกระท าซ้ าและกระท าต่อไปซึ่ง
เป็นการผิดสัญญา กรณีมีเหตุผลเพยงพอที่จะน าวิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพากษามาใช้บังคับ ทั้งเป็น
ิ
ี
ื่
ี
ื่
กรณีที่มีเหตุผลเพยงพอที่จะสั่งก าหนดวิธีการเพอคุ้มครองประโยชน์ในระหว่างพจารณาเพอบังคับตาม
ิ
ค าพิพากษา
ตามฎีกาข้างต้นจะเห็นได้ว่าข้อเท็จจริงอาจปรับได้ทั้งมาตรา ๒๕๔ (๒) และ ๒๖๔
ศาลฎีกา จึงมีค าสั่งตามบทบัญญัติดังกล่าว ๒ ประการ คือ ๑. ห้ามจ าเลยหรือตัวแทนจ าเลยจัดเก็บรายได้
ี
และรายจ่ายแต่เพยงฝ่ายเดียว ๒. ให้โจทก์หรือตัวแทนของโจทก์และจ าเลยหรือตัวแทนของจ าเลยร่วมกัน
จัดเก็บรายได้และรายจ่ายในกิจการภัตตาคาร แล้วให้ร่วมกันท าบัญชีรายวันรายจ่ายเพื่อควบคุมรายได้และ
รายจ่ายในกิจการนั้น ในระหว่างพิจารณาคดีจนกว่าจะมีค าพิพากษา
ค าสั่งห้ามเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนชั่วคราวตามมาตรา ๒๕๔(๓) พบว่า มีค าพิพากษา
ฎีกาที่ ๖๙๐๘/๒๕๕๒ วินิจฉัยได้ว่า โจทก์ฟองขอให้จ าเลยทั้งสามแบ่งปันทรัพย์มรดกของ จ. ให้แก่โจทก์
้
ตามพนัยกรรม โดยมีทรัพย์มรดกเป็นที่ดินและหุ้นบริษัทงานทวีพน้อง จ ากัด ซึ่งหุ้นดังกล่าวเจ้ามรดกได้ใส่
ิ
ี่
ชื่อจ าเลยที่ ๑ ไว้ ระหว่างพจารณาจ าเลยที่ ๑ ถึงแก่ความตาย ต่อมาจ าเลยที่ ๒ ประสงค์ขอโอนหุ้นให้แก่
ิ