Page 238 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 238

๒๒๕



                                                            ้
                               ๑.๗ ฎีกาที่ ๔๖๑/๒๕๐๗ โจทก์ฟองขอให้ศาลสั่งเพกถอนการโอนรับมรดกที่ดิน ห้าม
                                                                           ิ
                                                                     ิ
                 จ าเลยเกี่ยวข้อง ดังนั้น โจทก์จะร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพากษาห้ามมิให้จ าเลยครอบครองที่พพาท
                                                                                                    ิ
                 ไม่ได้ เพราะมิใช่การกระท าที่ถูกฟ้องร้อง

                 ข้อสังเกต


                               - ถ้าศาลมีค าสั่งอนุญาตตามค าขอของโจทก์ที่ให้ห้ามชั่วคราวในข้อที่ไม่เกี่ยวกับการ
                                                          ิ
                 กระท าที่ ถูกฟองร้องแล้ว ดังนี้ แม้ต่อมาศาลจะพพากษาให้โจทก์ชนะคดี ค าสั่งห้ามดังกล่าวก็ยกเลิกไปใน
                             ้
                 ตัวไม่อาจบังคับต่อไปตามมาตรา ๒๖๐(๒) (ฎีกาที่ ๒๒๐๓/๒๕๑๑)

                               - ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๑) (๔) ถือเป็นค าขอฝ่ายเดียวโดยเคร่งครัดโดยไม่ต้องฟง
                                                                                                       ั
                 คู่ความอกฝ่ายหนึ่ง (ฎีกาที่ ๙๐๒๘/๒๕๔๒) ส่วนค าขอตามมาตรา ๒๕๔(๒)(๓) มิใช่ค าขอฝ่ายเดียวโดย
                        ี
                 เคร่งครัด ถ้าศาลเห็นว่าหากให้โอกาสจ าเลยคัดค้านก่อนจะไม่เสียหายแก่โจทก์ ก็ให้ศาลแจ้งก าหนดวันนั่ง
                 พิจารณาพร้อมทั้งส่งส าเนาค าขอให้แก่จ าเลยโดยทางเจ้าพนักงานศาลก็ได้ตามมาตรา ๒๕๖


                               - ค าสั่งคุ้มครองชั่วคราวศาลไม่ควรก้าวล่วงลงไปวินิจฉัยหรือสั่งในเนื้อหาของคดีอนท าให้
                                                                                                  ั
                 เห็นข้อแพ้ชนะ


                               ๒. อยู่ในขอบเขตของมาตรา ๒๕๔ (๑) ถึง (๔)


                               กรณีค าสั่งยึดหรืออายัดมาตรา ๒๕๔(๑)

                                                                                                ิ
                               ๑. ฎีกาที่ ๓๓๒๐/๒๕๕๐ การอายัดเป็นการที่ศาลมีค าสั่งห้ามลูกหนี้ตามค าพพากษาให้
                 งดเว้นการจ าหน่ายสิทธิเรียกร้องและห้ามบุคคลภายนอกมิให้ช าระเงินหรือส่งมอบสิ่งของให้แก่ลูกหนี้ตาม
                     ิ
                 ค าพพากษา แต่ให้ช าระหนี้หรือส่งมอบแก่เจ้าพนักงานบังคับคดี แม้โจทก์จะใช้ค าว่าอายัดผิดพลาดก็ไม่ถือ
                                                         ั
                 เป็นสาระส าคัญ ศาลย่อมพิจารณาจากลักษณะอนแท้จริงตามกฎหมายของกรณีนั้นๆ ว่าที่ ถูกต้องแล้วเป็น
                 การยึดหรืออายัด

                               ๒. ฎีกาที่ ๙๒๗๐/๒๕๔๗ เมื่อศาลมีค าสั่งอายัดชั่วคราวแล้วและผู้ถูกอายัดส่งเงินที่อายัด

                 มายังศาลแล้ว ต่อมาศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีก็ยังถอว่าเป็นวิธีการชั่วคราวก่อนพพากษา เพียงแต่ค าสั่ง
                                                              ื
                                                                                      ิ
                                                             ิ
                 อายัดนั้นยังคงมีผลบังคับต่อไปเท่าที่จ าเป็นตามค าพพากษาตามมาตรา ๒๖๐(๒) ดังนั้น เจ้าหนี้ตามค า
                                                                                           ิ
                                                                                                     ื่
                  ิ
                 พพากษาคดีอนจึงมีสิทธิอายัดเงินที่ส่งมาที่ศาลนั้นได้ไม่เป็นการอายัดซ้ า เจ้าหนี้ตามค าพพากษาคดีอนมี
                            ื่
                 สิทธิดีกว่า
                               ๓. ฎีกาที่ ๔๗๔๓/๒๕๔๓ ศาลมีค าสั่งให้อายัดเงินในบัญชีของจ าเลย แต่ก่อนแจ้งค าสั่ง

                                                      ี
                 อายัดไปยังธนาคาร จ าเลยถอนเงินไปฝากอกบัญชีหนึ่ง ศาลมีค าสั่งใหม่ให้อายัดเงินในบัญชีใหม่ได้โดย
                 ไม่ต้องไต่สวน
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243