Page 538 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 538

๕๒๖


               ทางได้ ค าว่า "ให้ใช้ทาง" ตามสัญญาดังกล่าวย่อมหมายถึงการให้ใช้ทางได้เป็นปกติวิสัยทั่วไปซึ่งหากจ าเลย

               ท าทางขึ้นกว้างยาวเท่าใด คู่สัญญาก็ย่อมมีสิทธิใช้ได้ตามที่จ าเลยท าขึ้น การที่จ าเลยปิดกั้นทางเข้าออกสู่ที่ดิน

                                            ื่
                                ี
               ของโจทก์ให้เหลือเพยง ๑ เมตร เพอมิให้โจทก์น ารถยนต์เข้าไปสู่ที่ดินของตนได้ ย่อมเป็นการท าให้สิทธิการใช้
               ทางตามปกติวิสัยของโจทก์ลดน้อยลงไม่สะดวกในการใช้ทางที่ท าขึ้นตามปกติวิสัยทั่วๆไป จึงเป็นการผิดสัญญา


                                    > ค าพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๑


                   ิ
               ค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๔๗๓๐/๒๕๔๓ โจทก์เป็นสถาบันการเงินมีเจ้าหน้าที่คอยตรวจตราบัญชีของลูกค้าอยู่
               ตลอดว่ามีการเคลื่อนไหวอย่างไร เมื่อปรากฏว่าจ าเลยซึ่งเป็นลูกค้าโจทก์ไม่มีการเคลื่อนไหวทางบัญชีโจทก์ย่อม

                                                           ั
               จะต้องทวงถามหรืออาจบอกเลิกสัญญาภายในเวลาอนสมควร มิใช่ถือโอกาสใช้สิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นเอาแก่
                                                                                                  ี
               จ าเลยในระยะเวลายาวนานเกินสมควร ถือได้ว่าการใช้สิทธิของโจทก์มิได้กระท าโดยสุจริต เมอมข้อสงสัย
                                                                                               ื่
               ก็ต้องตีความไปในทางที่เป็นคุณแก่จ าเลยซึ่งเป็นฝ่ายที่ต้องเสียหายในมลหนี้ โดยถือว่าสัญญาเลิกกันตั้งแต่
                                                                            ู
               วันที่จ าเลยมีเจตนาเลิกสัญญากับโจทก์โดยปริยายคือวันที่จ าเลยเดินสะพัดทางบัญชีครั้งสุดท้าย


                                        > ค าพพากษาฎีกาที่วินิจฉัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๓๘๖ และ
                                                                              ่
                                       ิ
               มาตรา ๑๑  ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๙๗๕/๒๕๔๓ โจทก์และจ าเลยได้ท าสัญญาซื้อขายอาคารชุดที่พักอาศัยใน
               ราคา ๒,๘๖๕,๐๐๐บาท สัญญาได้ก าหนดไว้ว่า "ห้องชุดผู้ซื้อจะมีพนที่ประมาณ ๙๔.๕ ตารางเมตร ทั้งนี้โดย
                                                                       ื้
               ขึ้นอยู่กับการปรับขนาดพนที่ตามการก่อสร้างที่เป็นจริงและการจดทะเบียนที่ส านักงานที่ดิน ถ้าพนที่จริงของ
                                     ื้
                                                                                                ื้
               ห้องชุดผู้ซื้อมีมากกว่าหรือน้อยกว่าที่ระบุข้างต้นคู่สัญญายังคงต้องผูกพนตนตามสัญญานี้ แต่ถ้าแตกต่างตั้งแต่
                                                                          ั
               ร้อยละห้า (๕%) หรือมากกว่านั้น ราคาที่ต้องช าระตามสัญญานี้จะต้องปรับเพมหรือลดลงตามส่วนโดยการ
                                                                                 ิ่
               ปรับราคาจะกระท าในการช าระเงินงวดสุดท้ายของราคา" แม้ข้อสัญญาดังกล่าวไม่ขัดต่อกฎหมาย และใช้บังคับ

               ได้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์มาตรา ๑๕๑ แต่ศาลก็ต้องตีความสัญญาให้เป็นไปตามความ
                                       ่
               ประสงค์ของคู่สัญญาในทางสุจริต โดยพิเคราะห์ถึงปกติประเพณี กล่าวคือ เจตนาของคู่สัญญาที่กระท าโดย

               สุจริตซึ่งพเคราะห์ถึงปกติประเพณีประกอบแล้ว คงมิได้หมายความถึงขนาดที่ว่าไม่ว่าเนื้อที่ของอาคารชุดจะ
                        ิ
                                           ี
               แตกต่างมากกว่าร้อยละห้าสักเพยงใดก็ตาม โจทก์ก็ต้องรับโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารชุดโดยไม่อาจปฏิเสธได้
               โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาคารชุดพพาทมีเนื้อที่ล้ าจ านวนถึง ๒๙.๙๘ ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๗ ซึ่งโจทก์
                                         ิ
               จะต้องช าระเงินเพมอกประมาณ ๙๐๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งจ าเลยได้บังคับให้โจทก์รับมอบซอกมุมห้องที่ติดกัน
                                 ี
                               ิ่
               ซึ่งมีเนื้อที่อก ๓๐ ตารางเมตร โดยมีฝากั้นห้อง ระหว่างเนื้อที่ ๙๕.๕ ตารางเมตรกับ ๓๐ ตารางเมตร
                         ี
                                                                                                ี
               เป็นฝากั้นซึ่งเป็นคานรับน้ าหนักของตัวอาคาร โดยจ าเลยได้ท าช่องให้เข้าไปได้ทางด้านหลังเพยงเล็กน้อย
               เท่านั้น ส่วนที่ล้ าจ านวนเป็นส่วนของเนื้อที่ซอกมุมห้องที่ติดกัน ซึ่งหากพิจารณาถึงความประสงค์ในทาง

               สุจริต โดยพิเคราะห์ถึงปกติประเพณีแล้ว ก็หาควรบังคับให้โจทก์ต้องจ่ายเงินเพิ่มเป็นจ านวนมาก

                                                                                                       ิ
                                                                   ่
               เพื่อรับเอาเนื้อที่ล้ าจ านวนที่ไร้ประโยชน์ดังกล่าวนั้นหรือไม เพราะหากโจทก์ได้ทราบก่อนแล้วคงจะมได้
   533   534   535   536   537   538   539   540   541   542   543