Page 539 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 539
๕๒๗
ี
ื่
เข้าท าสัญญานั้นอย่างแน่นอน อกประการหนึ่งเมอค านึงถึงมาตรา ๑๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
่
ื่
ี
่
พาณิชย์ด้วยแล้ว ในกรณีเช่นวานี้เมอสัญญามข้อสงสัยวาโจทก์ต้องผูกพันตามสัญญาดังกล่าวนี้หรือไม ่
ศาลย่อมต้องตีความให้เป็นคุณแก่โจทก์ผู้ต้องเสียในมลหนี้ โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญานี้ได้ในเมื่อล้ า
ู
จ านวนถึงขนาด ซึ่งหากโจทก์ได้ทราบก่อนแล้วคงมิได้ท าสัญญานั้นตามมาตรา ๔๖๖ วรรคสอง อนเป็นผลให้
ั
คู่กรณีต้องกลับคืนสู่ฐานะเดิมตามมาตรา ๓๙๑
๑.๕ การตีความตามหลักกฎหมายต่างประเทศ
ท่านอาจารย์ไชยยศ เหมะรัชตะ ได้อธิบายหลักกฎหมายเกี่ยวกับการตีความสัญญาของ
ต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศเยอรมัน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ดังนี้
>หลักกฎหมายของประเทศเยอรมัน
่
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑ มีข้อความคล้ายคลึงกับประมวล
่
่
กฎหมายแพงของประเทศเยอรมัน มาตรา ๑๓๓ ประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศส มาตรา ๑๑๕๖
่
และประมวลกฎหมายแพงของประเทศสเปน มาตรา ๑๒๘๑ ส่วนประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ของ
่
ประเทศไทย มาตรา ๓๖๘ มีที่มาจากประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมัน มาตรา ๑๕๗
๗
German Civil Code หรือ Bundesgesetzblatt หรือ BGB
๘
Section ๑๕๗ Interpretation of contracts
" Contracts are to be interpreted as required by good faith, taking
customary practice into consideration."
ตามหนังสือกฎหมายว่าด้วยสัญญาของท่านอาจารย์ไชยยศได้ระบุค าแปลมาตรา
ดังกล่าวไว้ว่า "สัญญานั้นต้องตีความให้สอดคล้องกับข้อก าหนดแห่งความสุจริต โดยพเคราะห์ถึงปกติประเพณี
ิ
ประกอบด้วย" และได้อธิบายต่อไปไว้ ดังนี้
ข้อก าหนดแห่งความสุจริต ตามหลักกฎหมายเยอรมันดังกล่าวมิได้มีความหมายเฉพาะ
แต่ความสุจริตอนเป็นข้อเท็จจริงเท่านั้น แต่หมายความรวมถึงความสุจริตที่วิญญูชนพงประพฤติปฏิบัติต่อกัน
ั
ึ
ในการติดต่อทางธุรกิจการค้ากันด้วย หลักในเรื่องความสุจริต จึงเป็นหลักที่ศาลเยอรมันน ามาใช้เพอควบคุม
ื่
สัญญามิให้เอารัดเอาเปรียบจนเกินขอบเขต โดยอาศัยที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งมีความได้เปรียบในเชิงเศรษฐกิจหรือ
๗ ไชยยศ เหมะรัชตะ, กฎหมายว่าด้วยสัญญา, ๒๕๓๕, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หน้า ๒๖๐
๘
ที่มา https://www.gesetze-im-internet.de/englisch_bgb/englisch_bgb.html#p0466