Page 537 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 537
๕๒๕
๕
้
- หลักเกณฑ์ปลีกย่อย เช่น (ก) เอกสารสัญญานั้นต้องตีความเอาจากขอความทั้งหมดรวมกัน
่
มิใช่มาแยกตีความเป็นตอนๆไป กล่าวคือ ต้องอานเอกสารสัญญาทั้งฉบับแล้วจึงตีความหมายเจตนาของผู้ท า
่
สัญญานั้น ถ้าเอกสารสัญญานั้นมีหลายฉบับและเกี่ยวข้องกันก็ต้องอานเอกสารสัญญานั้นทุกฉบับประกอบกัน
ื่
ด้วย (ข) เพอให้การตีความเป็นไปตามเจตนาของผู้ท าสัญญามากที่สุดเท่าที่จะท า ได้ บางกรณีศาลอาจจะต้อง
ั
เติมค าเพมขึ้นเพอให้อานได้ความหรือไม่รับฟงค าบางค าที่ขัดแย้งกับข้อความอนหรืออาจจะจัดวางถ้อยค าเสีย
ื่
ื่
ิ่
่
่
ใหม่ให้อานได้ความก็ได้ (ค) ถ้อยค าต้องตีความไปในทางที่เป็นโทษแก่ ผู้ให้ถ้อยค า หมายความว่า ถ้าใช้
หลักการตีความทุกอย่างมาช่วยแล้วยังไม่ทราบความหมายอันแท้จริงของถ้อยค าที่ใช้ได้ก็ต้องถือเอาความหมาย
ที่เป็นโทษแก่ผู้ให้ถ้อยค าหรือผู้ท าเอกสารนั้น
๑.๓ การตีความสัญญาตามพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครอง
่
เกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมโดยเฉพาะ บัญญัติขึ้นเพอช่วยเสริมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ซึ่งเป็น
ื่
กฎหมายทั่วไป และเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาการท าสัญญาเอาเปรียบแกคู่สัญญาฝ่ายที่มีอ านาจต่อรองมากกว่า
่
ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ บัญญัติการตีความสัญญา
ส าเร็จรูปไว้ในมาตรา ๔ วรรคสองว่า “ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ตีความสัญญาส าเร็จรูปไปในทางที่เป็นคุณแก่
ฝ่ายซึ่งมิได้เป็นผู้ก าหนดสัญญาส าเร็จรูปนั้น” เนื่องจากสัญญาส าเร็จรูปเป็นสัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแต่
เพียงฝ่ายเดียวเป็น ผู้ก าหนดเนื้อหาหรือข้อสัญญาไว้ล่วงหน้าแล้ว และฝ่ายที่เป็นผู้ก าหนดนี้มักเป็นผู้ที่มีอานาจ
ในทางเศรษฐกิจเหนือกว่าหรือที่เรียกว่าผู้ประกอบการธุรกิจ ข้อสัญญาที่ถูกก าหนดไว้ล่วงหน้าจึงมักมีเนื้อหา
สาระที่เป็นคุณหรือเป็นประโยชน์แก่คู่สัญญาฝ่ายนี้ ดังนั้น เพอความยุติธรรมหากข้อสัญญามีข้อสงสัย
ื่
จ าเป็นต้องตีความแล้ว กฏหมายจึงก าหนดให้ตีความให้เป็นคุณแก่คู่สัญญาอกฝ่ายหนึ่งซึ่งมิได้เป็นผู้ก าหนด
ี
สัญญาส าเร็จรูปนั้น
๖
๑.๔ ค าพิพากษาเกี่ยวกับการตีความนิติกรรมสัญญา
> ค าพพากษาฎีกาที่วินิจฉัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๓๘๖
่
ิ
ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๗๘/๒๕๔๔ จ าเลยซื้อที่ดินจาก ท. เพื่อใช้ท าเป็นถนนเชื่อมหมู่บ้านจัดสรรในโครงการ
ของจ าเลย และได้ท าบันทึกต่อท้ายสัญญาจะซื้อขายที่ดินว่ายินยอมให้ ท. และที่ดินแปลงที่โจทก์ซื้อจาก ท. ใช้
๕ ไชยยศ เหมะรัชตะ, กฎหมายว่าด้วยสัญญา, ๒๕๓๕, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หน้า ๒๘๓-๒๘๖
๖ ศนันท์กรณ์ (จ าปี) โสตถิพันธุ์, ค าอธิบายนิติกรรม-สัญญา, ๒๕๕๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑๔, (กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน,
๒๕๕๒), หน้า ๓๔๘