Page 33 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 33

´ØÅ¾ÒË





              มาตั้งแตตนรวมกับผูพิพากษาทานอื่นๆ และทานกําพล รุงรัตน เปนผูดูแลเรื่อง Electronic

              Monitoring (EM) ดังนั้น จึงมีคําถามวาโครงการที่ทั้งสองทานรับผิดชอบนั้นดีจริงหรือไม
              มีขอที่นากังวลหรือไม และหากนํามาเปรียบเทียบกับประสบการณในตางประเทศแลว
              จะมีมุมมองแนวคิดอยางไร

                     ในเบื้องตนควรทําความเขาใจวา ‘วิสัยทัศน’ ‘นวัตกรรม’ และ ‘เทคโนโลยี’
              ที่เกี่ยวของกับการปลอยชั่วคราวหมายความวาอยางไร วิสัยทัศนคือการปฏิรูปการปลอย

              ชั่วคราวเพื่อนําไปสูการปลอยชั่วคราวที่พึงประสงค จะพบวาปญหาการปลอยชั่วคราว
              ที่พึงประสงคนั้นมีเปาหมายหลายประการ และสิ่งที่เปนกระแสอยูในขณะนี้คือ ปญหา
              ความเหลื่อมลํ้า และไมใชปญหาเดียว จะมองเพียงแคใหลดความเหลื่อมลํ้าคงไมได  ซึ่งปญหา

              ความเหลื่อมลํ้านั้นไมใชมีเพียงแคเรื่องคนรวยกับคนจน แตยังมีมิติอื่นๆ เชน เพศ คนกลุมนอย
              คนตางดาว คนปวย นอกจากนี้ ประเด็นที่มีความสําคัญตอการปลอยชั่วคราวคือ เรื่องความ
              ปลอดภัยทางสังคม เชน หากปลอยตัวผูตองหาหรือจําเลยไป เขาจะหลบหนีหรือไม หรือจะทํา

              อันตรายแกผูเสียหายหรือไม หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐานหรือไม รวมทั้งกระบวนการ
              ในการปลอยชั่วคราวตองรวดเร็วและเปนธรรม อีกประการหนึ่งคือ การปลอยชั่วคราว

              ตองไมซับซอนและเขาใจงาย ซึ่งขอดีของการปลอยชั่วคราวแบบเดิมที่ใชหลักประกันคือ
              เร็วและเขาใจงาย เราตองมองภาพรวมทั้งหมด สวนประเด็นการลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม
              นั้นมีความสําคัญแนนอน นอกจากนี้ นวัตกรรมก็เปนเรื่องของวิธีการที่จะนําสูเปาหมาย

              วามีวิธีการใหมอยางไร เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงทําอยางไร และมีความนาเชื่อถือจริง
              หรือไม เรื่องนี้ไมใชเรื่องใหม เนื่องจากในการทํางานของผูพิพากษา การพิจารณาสั่งประกัน

              จะตองมีการประเมินความเสี่ยงอยูแลว เพียงแตสิ่งที่ใหมคือวิธีการประเมินความเสี่ยง
              ซึ่งตรงนี้ทานมุขเมธินและทีมงานไดคิดคนวิธีการประเมินความเสี่ยงขึ้นมา อันเปนเครื่องมือ
              อยางหนึ่ง นอกจากนี้ นวัตกรรมอีกประการหนึ่งคือ เทคโนโลยีที่ใชในการปลอยชั่วคราว

              และใชในการประเมินความเสี่ยง เชน EM จะสามารถตอบโจทกเรื่องความรวดเร็วไดหรือไม
              ซึ่งทานโสภณ เห็นวา แนวคิดการประเมินความเสี่ยงนาจะมีประโยชนมากกวาการใช EM
              ดังนั้น จึงมีประเด็นวาศาลจะใช EM กับคดีประเภทใดไดบาง


                     ในภาพรวมของการใช EM ในแงมุมของการศึกษาเปรียบเทียบพบวายังไมมีวิธีการ
              ที่ถูกตองวิธีเดียวในการใช EM เชน ในแตละประเทศมีวิธีการใช EM ที่แตกตางกันหลายแบบ

              หรืออีกนัยหนึ่งคือมีวิธีการใช EM ที่ถูกตองอีกหลายวิธี จะพบวาไมไดมีวิธีการเดียว ฉะนั้น
              ในมุมมองประสบการณจากตางประเทศจะตองระมัดระวัง ไมใชพิจารณาประสบการณ






              ๒๒                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38