Page 35 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 35

´ØžÒË





              สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ไดเริ่มทําการวิจัยเรื่องการปลอยชั่วคราว เมื่อเดือน
              ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งแนวคิดของโครงการนี้มาจากบทความเรื่อง “อิสรภาพราคาแพง

              สําหรับคนจนในการปลอยชั่วคราว : สภาพปญหาและการแกไข” ในวารสารดุลพาห ของทาน
              ธัญญานุช ตันติกุล ในบทความนี้ทานธัญญานุชไดเขียนถึงปญหาของการปลอยชั่วคราว

              หลายประการ  เนื่องจากผูตองหาหรือจําเลยจํานวนหนึ่งไมไดรับการปลอยชั่วคราวและทําให
              เกิดความเหลื่อมลํ้า จึงไดเสนอแนวทางแกไขปญหาหลายประการ แตแนวทางแกไขปญหา

              ที่นาสนใจที่สุดคือ การสรางระบบประเมินความเสี่ยงในการปลอยชั่วคราว โดยศึกษา
              ประสบการณจากประเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาไดกําหนดเปนหัวขอวิจัยของสถาบันวิจัยและ

              พัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๘ จนถึงปจจุบัน

                     ประเด็นที่นาสนใจคือการประเมินความเสี่ยงเปนเรื่องใหมหรือไม เมื่อเริ่มโครงการ

              มีขอคิดวาโครงการวิจัยเรื่องนี้ เห็นควรชอบที่จะทําหรือไม เนื่องจากการปลอยชั่วคราว
              ในแตละคดีผูพิพากษาไดทําการประเมินความเสี่ยงดวยตนเองอยูแลวในการใชดุลพินิจวา

              สั่งอนุญาตใหปลอยชั่วคราวหรือไม โดยแทจริงแลวยังพบปญหาอยู ผมปฏิบัติงานในศาลชั้นตน
              ๒๐ ป และในศาลจังหวัดอีกหลายจังหวัด  ไดสั่งงานประกันมาตลอด  ผูพิพากษาในชั้นอุทธรณ

              ที่สั่งประกันจะไมทราบวาผูตองหาหรือจําเลยหลบหนีหรือไม เนื่องจากเมื่อศาลชั้นตน
              ทราบวามีการหลบหนีหรือไม ก็ไมตองรายงานศาลชั้นอุทธรณอีก ในขณะเดียวกันตามสถิติคดี

              จะมีอัตราการหลบหนีเพียงแค ๓ - ๕ เปอรเซ็นตของการปลอยชั่วคราวทั้งหมด เนื่องจาก
              ผูตองหาหรือจําเลยสวนใหญมิไดยื่นคํารองขอปลอยชั่วคราว ฉะนั้น ผูพิพากษาสวนมาก

              จะรูวาควรสั่งปลอยชั่วคราวอยางไร โดยการประเมินความเสี่ยงดวยตนเอง แตมีความเสี่ยง
              เพียงใดนั้นทานไมทราบ ในความเห็นสวนตัว ผมมีความรูในเรื่องประกันไมนอยกวาผูพิพากษา

              ทานอื่น เชน การปลอยชั่วคราวเปรียบเสมือนเคกกอนใหญที่มีหนาแตกตางกัน ฉะนั้น
              ผูตองหาหรือจําเลยที่ไดรับการปลอยชั่วคราวจํานวนเปนแสน แตมีอัตราการหลบหนีเพียง

              ๕ เปอรเซ็นต ดังนั้น ควรจะมีการวิจัยเรื่องนี้ ยังเห็นวาวิธีการประเมินความเสี่ยงของประเทศ
              สหรัฐอเมริกาเปนวิธีที่นาสนใจ จึงเสนอหัวขอวิจัยนี้ขึ้นมาโดยนําทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร

              มาใชในการวิเคราะหในการประเมินความเสี่ยงและสรางเครื่องมือสนับสนุนในการปฏิบัติงาน
              ของผูพิพากษาไดหรือไม ในที่สุดคณะกรรมการก็อนุมัติใหลองทําการวิจัยเรื่องนี้กอน  ซึ่งทาน

              ชาญณรงค ปราณีจิตต ซึ่งเปนผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลอุทธรณเปนผูดูแลสถาบันวิจัย
              และพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ดวย ไดเห็นวาวิจัยเรื่องนี้มีความสําคัญอยางยิ่ง การทําวิจัยอาจจะชา







              ๒๔                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40