Page 36 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 36

´ØžÒË





                 จึงควรสงคณะทํางานไปศึกษาดูงานที่กรุงวอชิงตันดีซี ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเปน

                 ตนแบบเรื่องนี้ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ คณะทํางานทั้งสามทานไดแก ผม ทานธัญญานุช
                 ตันติกุล และทานประพิณ ประดิษฐากร เดินทางไปศึกษาดูงานระบบประเมินความเสี่ยง
                 ของประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มตั้งแตสถาบันวิจัย ศาล และสํานักงานการประเมินความเสี่ยง

                 จึงไดเห็นวาวิธีการศึกษาของสหรัฐอเมริกาไดทําการศึกษาสํานวนคดีจํานวน ๖ ลานสํานวน

                 โดยใชระบบคอมพิวเตอรคนหาวามีปจจัยสิ่งใดที่เหมือนหรือคลายกันบาง มีอัตราการหลบหนี
                 อยูที่ ๓ – ๕ เปอรเซ็นต ในที่สุดระบบคอมพิวเตอรสามารถคนหาได ๑๐ ปจจัย พรอมกับ
                 สถิติที่จะนํามาใชในการพยากรณได จึงไดสรางระบบการพยากรณขึ้นมา วิทยากรเห็นวา

                 วิธีการนี้นาสนใจมาก เนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกาไดเปลี่ยนระบบใชหลักประกันมาเปน

                 ใชระบบประเมินความเสี่ยงแลวไดผลดี ในศาล ณ กรุงวอชิงตันดีซี ไดใชระบบประเมิน
                 ความเสี่ยงในการปลอยชั่วคราวแลว ปรากฏวามีผูตองหาหรือจําเลยจํานวนกวา ๙๐ เปอรเซ็นต
                 มารายงานตัวตอศาล ทําใหสามารถปลอยผูตองหาหรือจําเลยไดมากกวา ๙๐ เปอรเซ็นต

                 จากการจับกุมทั้งหมด และขังเพียง ๑๐ เปอรเซ็นต แตมีการหลบหนีเพียง ๗ – ๘ เปอรเซ็นต

                 ซึ่งภายหลังการปลอยชั่วคราวจะกํากับดูแลโดยใสกําไลขอมือ กระผมจึงไดเรียนทาน
                 เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมวา ขาวดี คือวิธีการนี้ไดผล แตมีขาวราย ๒ ประการ
                 คือ (๑) ในบรรดาผูตองหาหรือจําเลยที่หลบหนี ตํารวจสามารถจับคืนมาไดหมด ซึ่งจะทําให

                 ไมคอยหนี และ (๒) การประเมินความเสี่ยงและการปลอยชั่วคราวของประเทศสหรัฐอเมริกา

                 จะมีระบบขอมูลที่เชื่อมโยงกันในคอมพิวเตอรซึ่งสามารถประเมินขอมูลไดชัดเจน ปญหาคือ
                 ประเทศไทยยังไมสามารถเชื่อมโยงระบบขอมูลกันไดทําใหปฏิบัติงานไดยาก จึงเรียน
                 ทานเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมวาประเทศไทยยังไมมีความพรอมทั้งสองประการขางตน

                 แตก็ทราบวาในเรื่องระบบการเชื่อมโยงขอมูลทางคอมพิวเตอร กระทรวงยุติธรรมกําลัง

                 ทําระบบ DXC คงจะกาวหนาไปในไมชา สวนกรณีที่จะใหตํารวจไทยมีความพรอมในการจับกุม
                 ผูตองหาหรือจําเลยที่หลบหนีนั้นจะตองรอใหเขาพัฒนาระบบตอไป ทานเลขาธิการสํานักงาน
                 ศาลยุติธรรมเห็นวาศาลยุติธรรมตองลงมือทําเอง โดยมีการอนุมัติโครงการนี้ขึ้น ซึ่งกระผม

                 ก็ไดเริ่มโครงการนี้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

                        ในการเริ่มดําเนินการโครงการนี้ จะใชทฤษฎีพฤติกรรมศาสตรในแบบฉบับของ

                 คนไทย จึงคนหานักวิจัยในเรื่องนี้ ในที่สุดก็จัดจางสถาบันพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย

                 ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตรทําการวิจัยโครงการประเมินความเสี่ยงในการปลอยชั่วคราว






                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๒๕
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41