Page 41 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 41

´ØžÒË





              ที่ตองติดคุกระหวางพิจารณากับระหวางติดอุปกรณที่ขาเขาจะเลือกอะไร ไดรับกระแส

              ตอตาน บางทานไมยอมรับความเปลี่ยนแปลง ตัว EM ใชในอัตราโทษสูงสุด ไมมีกระบวนการ
              ประเมินความเสี่ยง แตประเมินโดยผูพิพากษา หลักความคิดที่ตองนําไปชี้แจงใหเขาใจ จึงเปน
              กระบวนการที่ยาก ระบบของ EM สามารถดําเนินการเพียงลําพังไดหรือไม ฝายประเมิน

              ความเสี่ยงบอกไมไดตองมีการประเมินความเสี่ยงกอนถึงใช EM จะทําอยางไรใหผูพิพากษา

              ทั่วประเทศยอมรับกระบวนการทํางาน ผูตองหาหรือจําเลยบางรายมานั่งฟงการพิจารณา
              ทุกวัน แตหลบหนีในวันนัดฟงคําพิพากษา เจตนารมณเพื่อลดความเหลื่อมลํ้า ดังนั้น
              หลักการคิดของผูพิพากษาที่จะปลอยชั่วคราวโดยใช EM เมื่อเขายื่นประกันตัวและ

              ทานสั่งปลอยชั่วคราวอยูแลวตามระบบธรรมดา เชน เขามีเงินประกันอยูแลวก็ปลอยโดย

              ระบบธรรมดา แตถาเขาไมมีเงินประกันทานจะติด EM ไดไหม อยางนี้จึงทําใหผูพิพากษา
              สบายใจ จะมีหลักการใชอยางไรอยูในคูมือ


                     ในเรื่องของ EM ควรเปนสวนหนึ่งในเรื่องของประเมินความเสี่ยงหรือไม ตองให
              ประเมินความเสี่ยงกอนถึงใช EM ได อุปกรณ EM ไดรับงบประมาณมาแลว เพราะฉะนั้น
              จึงตองกระจายอุปกรณ EM ออกไปกอน ประเมินความเสี่ยงก็ดําเนินไปในสวนของประเมิน

              ความเสี่ยง เพราะวา EM ตองเดินไปใหสุดซอย คือใชไดกับอัตราโทษทุกประเภท เพราะ EM

              เปนมาตรการหนึ่งในการกํากับดูแลผูที่ถูกปลอยชั่วคราวที่ผานกระบวนการประเมินความเสี่ยง
              สําหรับผูที่มีความเสี่ยงมากถึงมีความเสี่ยงสูงใชในกระบวนการกํากับดูแล สํานักงาน
              ศาลยุติธรรมนํากระบวนการประเมินความเสี่ยงไปใชกับศาลที่มีการนํา EM ไปใช คือใชกับ

              ศาลนํารอง ใชการประเมินความเสี่ยงใหเชื่อมโยงกับ EM ระบบเดิมมีการประเมินความเสี่ยง

              โดยผูพิพากษาผานการใชดุลพินิจ ผานประสบการณของผูพิพากษา ตั้งแตมีการใช EM
              มีผูหลบหนี EM เพียงรายเดียว


                     ตอไปจะมีการนําประเมินความเสี่ยงมาใชกับทุกประเภทคดีที่มีคํารองขอปลอย
              ชั่วคราว มีการนํา EM มาใชเสริมกับผูที่มีการประเมินความเสี่ยงสูง มากํากับดูแลผูถูกปลอย
              ชั่วคราวตามมาตรา ๑๐๘ เปนหลัก แนวคิดในการใช EM ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม

              ใชตรวจสอบและจํากัดการเดินทาง แตโดยแทจริงแลวไมใชเปนอุปกรณปองกันการหลบหนี

              เพียงแตเปนการตรวจสอบและจํากัดการเดินทางและใชในชั้นปลอยชั่วคราวในทุกชั้นศาล
              ใชจนคดีถึงที่สุดได แตโดยหลักใชในชั้นปลอยชั่วคราว ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการนํามาใชในการ
              คุมประพฤติ ปจจุบันสํานักงานศาลยุติธรรมมีการทดลองมาใชในชั้นคุมประพฤติ ประสาน






              ๓๐                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46