Page 38 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 38

´ØžÒË





                 ใชโทรศัพทมือถือในการควบคุมกรณีของผูถูกปลอยชั่วคราวเสนอใหใชเทคโนโลยีนี้

                 เพื่อการติดตามตัว แตปรากฏวาเทคโนโลยีดังกลาวตองผูกพันกับผูใหบริการบริษัทมือถือ
                 รายใดรายหนึ่ง ซึ่งจะเกิดความไมยุติธรรม ดังนั้น ภาคเอกชนจึงทําโครงการนี้ไมได จึงได
                 มีการประสานงานเพื่อหามหาวิทยาลัยชวยดําเนินการ และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

                 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือจะมาชวยดูแลโครงการ แตทางสํานัก

                 เทคโนโลยีสารสนเทศสํานักงานศาลยุติธรรม เห็นวา การทําแอปพลิเคชันยังมีชองโหว
                 ในเรื่องความปลอดภัยจํานวนมากจึงไมสามารถทําโครงการนี้ได

                        เรื่องการประเมินความเสี่ยงอยางไรก็ตองมีผูตองหาหรือจําเลยทําการหลบหนี

                 จึงตองอาศัยตํารวจเขามาชวยในการจับกุม สํานักงานศาลยุติธรรมจึงเสนอกฎหมายฉบับหนึ่ง
                 เรียกวา พระราชบัญญัติมาตรการในการติดตามตัวผูหลบหนีการปลอยชั่วคราวโดยศาล

                 พ.ศ. ๒๕๖๐ หลักการนํามาจากปญหาที่ประสบมาจากการปลอยชั่วคราว ขณะเดียวกัน
                 ก็มีการเสนอวาในการรายงานตัวก็ใหไปรายงานตัวกับกํานันหรือผูใหญบาน และมีการเสนอ

                 มาตรการในการใหสินบนกับเจาพนักงานผูทําการจับกุม จากนั้นเริ่มขยายโครงการไปยัง
                 ศาลนํารองหลายศาล ขณะเดียวกันคณะผูวิจัยไดเก็บขอมูลจากสํานวนคดีที่เปนกระดาษ
                 เพราะประเทศไทยยังไมมีการเก็บสํานวนคดีในคอมพิวเตอร และตรวจสอบสํานวนได

                 ๑,๑๔๘ สํานวน จากศาลจังหวัดเชียงใหม ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช และศาลอาญา
                 จึงสรุปผลและสามารถสรางปจจัยได ๑๔ ปจจัย แลวก็นําโครงการทดลองนี้ไปใชยังศาลนํารอง

                 และเห็นวาคดีอัตราโทษจําคุกไมเกิน ๕ ป จะไดผลที่เหมาะสมดี ตอมามีการขยายศาลไปยัง
                 ศาลจังหวัดขอนแกน ซึ่งอธิบดีผูพิพากษาภาค ๔ เห็นสมควรใหโครงการขยายไปทุกจังหวัด

                 ในภาค ๔ แตกวาจะเริ่มมีการขยายผลไปภาค ๔ ได คือ เดือนมีนาคม ๒๕๖๑ และพบปญหา
                 ในศาลตนแบบคือ นิติกรถูกมอบหมายใหทําการประเมินความเสี่ยงสัมภาษณผูตองหาหรือ

                 จําเลยโดยระยะแรกใชเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง และพัฒนาลดลงมาเปน ๓๐ นาที ตอผูตองหา
                 หรือจําเลย ๑ คน จนกระทั่งเดือนมีนาคม ๒๕๖๑ จึงได EM มาชวยสนับสนุนโครงการประเมิน
                 ความเสี่ยง และเมื่อโครงการได EM มาก็จะชวยขยายระบบประเมินความเสี่ยงใหสมบูรณ

                 ยิ่งขึ้นได เนื่องจากสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์เห็นควรนํามาเชื่อมโยงกับระบบ EM
                 ซึ่งจะเปนพัฒนาการของระบบประเมินความเสี่ยง ผลการประเมินความเสี่ยงมีความแมนยํา

                 ถึงรอยละ ๙๐ ซึ่งคนที่เคยหลบหนีมีความเสี่ยงมากกวาคนที่ไมเคยหลบหนีถึง ๑๕ เทา
                 อยางไรก็ตาม  วิธีการทั้งหลายไมสามารถแทนที่ทรัพยากรบุคคลได ผูพิพากษาจึงยังคงตองใช

                 ดุลพินิจอยู เพราะสถิติทั้งหลายไมใชความยุติธรรม ความยุติธรรมตองดูเฉพาะกรณีไป





                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๒๗
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43