Page 34 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 34

´ØžÒË





                 ของประเทศใดประเทศหนึ่งวาใชวิธีเดียว ศาลจะใช EM กับหลักประกันก็ได หรือใชกับ
                 ผูตองหาหรือจําเลยที่มีความเสี่ยงสูงก็ได หรือใชกับผูตองหาหรือจําเลยที่ศาลสั่งไมอนุญาตให

                 ประกันตัวหรือสั่งขังแลวก็ปลอยตัวและใช EM ได แลวแตวาศาลจะใชเพื่อวัตถุประสงคใด
                 ฉะนั้น ถาเรามีทัศนคติที่ตรงกัน การมองแตละดานไมวาจะเปนวิสัยทัศนหรือนวัตกรรม
                 ก็จะสามารถผานเรื่องนี้ไปสูจุดที่เราตองการได

                        ขอเรียนเชิญทานมุขเมธิน กลั่นนุรักษ วิทยากรซึ่งเปนตนคิดคนหนึ่งในเรื่องนี้
                 กรุณาอธิบายความเปนมาของโครงการประเมินความเสี่ยง  โดยเฉพาะในประเด็นวาโครงการนี้

                 เปนเรื่องใหมหรือไม และที่ผานมาศาลยุติธรรมดําเนินการปฏิรูปการปลอยชั่วคราวมาแลว
                 อยางไร



                        นายมุขเมธิน กลั่นนุรักษ : การพัฒนาระบบการปลอยชั่วคราว ศาลยุติธรรม
                 ไดดําเนินการมานานแลว ทานโสภณ รัตนากร ที่ปรึกษาในศาลฎีกา เห็นวาปญหาการปลอย
                 ชั่วคราวมีมานานแลว ซึ่งระบบเดิมไมสามารถเอื้อประโยชนแกประชาชนไดอยางแทจริง

                 ใน พ.ศ. ๒๕๒๗ ทานโสภณไดพยายามปรับปรุงระบบการปลอยชั่วคราว ในเริ่มแรกกรณีที่ศาล
                 สั่งไมอนุญาตใหปลอยชั่วคราวจะอุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไมได ทานเสนอแกไขกฎหมาย

                 ใหมีสิทธิอุทธรณฎีกาคําสั่งศาลได และใหมีนิติกรประจําสวนประชาสัมพันธชวยประชาชน
                 ที่ยื่นคํารองขอปลอยชั่วคราวได  ซึ่งเปนนวัตกรรมในสมัยดังกลาวเพราะเดิมการปลอยชั่วคราว

                 เปนหนาที่ของทนายความและตัวความเอง ศาลจะไมเขาไปเกี่ยวของดวย ตอมา พ.ศ. ๒๕๔๗
                 ไดมีการออกคําแนะนําของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับการปลอยชั่วคราว เพื่อกําหนด

                 แนวทางปฏิบัติและไดมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ ซึ่งมาตรฐานนี้ชวยใหผูพิพากษา
                 ทั่วประเทศสามารถใชเปนแนวทางในการพิจารณาสั่งประกันในมาตรฐานเดียวกันได ถือวา
                 เปนขอดีอยางหนึ่งที่วาการพิจารณาสั่งประกันเปนมาตรฐานและลดขอครหา ในขณะเดียวกัน

                 พบปญหาวาระบบการปลอยชั่วคราวคอนขางแข็ง มีความยืดหยุนนอยลง อีกทั้งผูตองหา
                 หรือจําเลยที่อยูในกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดแมฮองสอนจําตองประกันในอัตราเดียวกัน

                 ทําใหเกิดปญหาความเหลื่อมลํ้า เชน ประชาชนในเขตปทุมวันกับประชาชนในอําเภอ
                 อมกอยจะมีรายไดเฉลี่ยตอวันตอคนตางกันมาก ในเริ่มแรกการประกันตัวตองใชเงินหรือที่ดิน
                 เทานั้น ตอมาศาลก็ยอมรับหลักประกันอื่นๆ อีกมากมาย เชน สลากออมสิน พันธบัตรรัฐบาล

                 และกรมธรรมประกันอิสรภาพ สามารถนํามาใชเปนหลักประกันได ตอมา พ.ศ. ๒๕๕๓
                 มีการกอตั้งกองทุนยุติธรรมขึ้นมา ซึ่งทําหนาที่ใหการประกันตัว แตก็ยังแกปญหาไมเสร็จสิ้น

                 ในที่สุดศาลยุติธรรมก็กาวเขาสูการปลอยชั่วคราวตามโครงการประเมินความเสี่ยง




                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๒๓
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39