Page 324 - Liver Diseases in Children
P. 324

314      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
                                                                             ้
                                                                                          ี
                                             �
                 การปลูกถ่ายตับจะประสบความสาเร็จได้ต้อง   32  โดยเป็นโรคท่อน�าดีตีบตันมากท่สุด  โรคทาง
            เกดจากการท�างานร่วมกนของทีมสหวชาชพซง          เมแทบอลิกและโรคทางพันธุกรรมประมาณร้อยละ 22
                                                  ี
                                                     ่
                                              ิ
              ิ
                                                     ึ
                                  ั
            ประกอบไปด้วย  ศลยแพทย์  กมารแพทย์  ตับวายเฉียบพลันร้อยละ 11 ภาวะตับแข็งร้อยละ 9
                                            ุ
                               ั
                                                                                                   ้
                                                                                                   �
            วิสัญญีแพทย์  รังสีแพทย์  จิตแพทย์  พยาบาล  เนื้องอกร้อยละ 9 โรคภูมิต้านทานต่อตับและท่อนาด ี

            นักโภชนาการ และนักสังคมสงเคราะห์ นอกจากนี ้   ตนเอง (autoimmune hepatitis and sclerosing
                                                                                                    5
            สงทีสาคญและท้าทายในปัจจุบัน คอ การดูแลผู้ป่วย  cholangitis) ร้อยละ 4 และสาเหตุอื่น ๆ ร้อยละ 13
               ่
             ่
             ิ
                 �
                   ั
                                        ื
                                          ื
             ่
            ทีได้รับการปลูกถ่ายตับในระยะยาวเพ่อให้เด็กเหล่านี ้  Kasahara และคณะรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยเด็ก
            มีการเจริญเติบโตปกติและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป   ญี่ปุ่นที่ปลูกถ่ายตับจากตับผู้บริจาคที่ยังมีชีวิตจ�านวน
                                                                            ้
                                                                            �
                                                                                             ี
                                         ั
            ดังนั้นในบทนี้จะกล่าวถึงหลักการท่วไปของการปลูก  2,224 ราย พบว่าท่อนาดีตีบตันเป็นข้อบ่งช้ที่พบบ่อย
            ถ่ายตับในเด็ก การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังการปลูก  ที่สุด คือ ร้อยละ 66 โรคทางเมแทบอลิกร้อยละ 9
                                                                                    8
            ถ่ายตับทั้งในระยะสั้นและระยะยาว               และตับวายเฉียบพลันร้อยละ 9  ในประเทศไทยนั้น
                                                          ก็เช่นเดียวกัน จากข้อมูลของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
                                         6,7
            ข้อบ่งชี้ของกำรปลูกถ่ำยตับ                    พบว่าเด็กท่ต้องรับการปลูกถ่ายตับเป็นโรคท่อน้าด ี
                                                                                                  �
                                                                    ี
                       ี
                 ข้อบ่งช้ในการปลูกถ่ายตับในเด็กแตกต่างจาก  ตีบตันสูงถึงร้อยละ 80 ในส่วนของอายุทีได้รับการ
                                                                                             ่
                                                                     ั
             ู้
                                                      ่
            ผใหญ่ โดยสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ (ตารางที  ปลูกถ่ายตับน้นจากข้อมูลของต่างประเทศพบว่าเด็ก
            16.1) ได้แก่                                  ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 65-75) ได้รับการปลูกถ่ายตับ
                                                                                7,9
                                     �
                        ี
                                     ้
                 1. โรคท่เกิดจากภาวะนาดีค่ง (cholestatic  ตั้งแต่ในช่วงอายุ 5 ปีแรก  ในบทนี้จะกล่าวถึงโรค
                                         ั
            liver diseases)                               ที่เป็นข้อบ่งชี้ส�าคัญและพบได้ในประเทศไทย
                 2. โรคทางเมแทบอลิกและโรคทางพันธุกรรม     โรคตับที่เกิดจำกภำวะน�้ำดีคั่ง
            ที่เกี่ยวกับตับ (hepatic-based metabolic/genetic      โรคท่อน�าดีตีบตัน (biliary atresia) เป็นข้อบ่ง
                                                                      ้
            conditions)                                   ช้ที่พบบ่อยที่สุดของการปลูกถ่ายตับในเด็กซ่งพบได้
                                                                                               ึ
                                                           ี
                 3. ภาวะตับแข็งหรือโรคตับเรื้อรังระยะสุดท้าย   ประมาณร้อยละ 40-80 ดังกล่าวมาแล้ว โรคท่อน�าด ี
                                                                                                  ้
            (cirrhosis/end-stage liver disease)           ตีบตันท�าให้เกิดภาวะนาดีค่งตั้งแต่วัยทารก สาเหตุ
                                                                                 ั
                                                                             �
                                                                             ้
                 4. ตับวายเฉียบพลัน (acute liver failure)    ของโรคยังไม่เป็นทีทราบแน่ชัด แต่มีสมมติฐานว่า
                                                                          ่
                 5. เนื้องอกที่ตับที่ไม่สามารถรักษาได้ด้วยการ  อาจเกิดจากการติดเช้อไวรัส ได้รับสารพิษ หรือมี
                                                                             ื
            ผ่าตัด (unresectable liver tumors)            ความผิดปกติของยีนน�ามาก่อน ตามมาด้วยการตอบ
                 6. สาเหตุอื่น ๆ                          สนองของภูมิคุ้มกันในร่างกายที่ผิดปกติแล้วกระตุ้น
                                                                                    ้
                                                                              ื
                 จากข้อมูลของ  United  States  Organ   ให้เกิดการอักเสบของเย่อบุท่อนาดีท่อยู่นอกตับที่เพิ่ม
                                                                                       ี
                                                                                    �
            Procurement and Transplantation Network ใน    มากขึ้นเรื่อย ๆ จนเกิดการตีบตันในที่สุด  การรักษา
                                                                                           10
                                                                                              ื
            ช่วงปี พ.ศ. 2554-2556 พบว่าข้อบ่งชี้ของการปลูก  ท�าได้โดยการผ่าตัด portoenterostomy หรอ Kasai
            ถ่ายตับในเด็ก ได้แก่ โรคตับจากภาวะน�าดีคั่งร้อยละ  procedure เป็นการผ่าตัดน�าล�าไส้ส่วนเจจูนัมไปต่อ
                                            ้
   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329