Page 191 - Liver Diseases in Children
P. 191

ไวรัสตับอักเสบ   181


              pthaigastro.org



























             รูปที่ 10.2 การเปลี่ยนแปลงทางไวรัสวิทยาและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ
                         (* ได้รับความอนุเคราะห์รูปจากศาสตราจารย์นายแพทย์พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์)


             กระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันภายใน  14  วันหลังฉีด  ไวรัสตับอักเสบอี 1,2

             แอนติบอดีที่สามารถป้องกันการติดเช้อ (protective     ไวรัสตับอักเสบอี (hepatitis E virus, HEV)
                                            ื
                                                                                   ั
                                                             ู
                                                                    ู
                                                             ่
             antibody level) คงอยู่นานไม่น้อยกว่า 1 ปีหลังฉีด  อยในตระกล Hepeviridae ลกษณะของ HEV แสดง
             วัคซีนคร้งแรก แนะน�าให้ฉีดวัคซีนครั้งที่สองห่างจาก  ในตารางที่ 10.1 ไวรัสมี 8 จีโนไทป์ โดยจีโนไทป์ที่
                    ั
                                                                                12
                                                                     ื
             คร้งแรก 6-12 เดือน ส่วนวัคซีนชนิด live-attenuated   พบการติดเช้อในคน คือ 1-4  จีโนไทป์ 1 และ 2 (HEV-1,
               ั
             ซึ่งฉีดเพียงครั้งเดียวสามารถกระตุ้นให้มีแอนติบอดี  HEV-2) ติดเชื้อเฉพาะในคน HEV-3 และ HEV-4
                                                                                          ื
                                   ื
             ที่สามารถป้องกันการติดเช้อได้นานกว่า 5 ปี เด็ก   พบในหมูและเป็นสาเหตุของการติดเช้อจากสัตว์สู่คน
             ทีเป็นโรคตับเรอรงควรได้รบวคซนป้องกน  HAV  ระบำดวิทยำ
                                    ั
                                                ั
                                          ี
                                       ั
                          ื
                          ้
              ่
                            ั
                             ี
                                                                  ื
             เนื่องจากมีความเส่ยงต่อการเกิดตับวายเฉียบพลัน      เช้อ HEV เป็นสาเหตุที่พบบ่อยท่สุดของตับ
                                                                                             ี
             และเสียชีวิตหากติดเชื้อ HAV                   อักเสบเฉียบพลันจากไวรัสในประเทศท่เป็น highly
                                                                                           ี
                  ส่วนการให้ passive immunization ด้วย  endemic areas พบการติดเชื้อจีโนไทป์ 1 และ 2
             human normal immunoglobulin (HNIG) ฉีดเข้า    ได้บ่อยในประเทศก�าลังพัฒนา มักพบการระบาดใน
             กล้ามเน้อภายใน 14 วันหลังสัมผัสเช้อมีทีใช้น้อย  ช่วงหลังฤดูฝน การติดเชื้อในประเทศท่พัฒนาแล้ว
                    ื
                                                 ่
                                             ื
                                                                                            ี
             เนื่องจากการให้วัคซีนป้องกัน HAV หลังสัมผัสเชื้อ  มักเกิดจากจีโนไทป์ 3 ซึ่งเกิดจากการกินอาหารที่ปน
                                                  ื
               ี
                            ็
             เพยงอย่างเดียวกสามารถป้องกนการติดเช้อได้ไม่   เปื้อนเชื้อ การติดเชื้อ HEV ในหญิงตั้งครรภ์มีความ
                                        ั
             แตกต่างกับการให้ HNIG                         รุนแรงมากมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 20
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196