Page 115 - 9078
P. 115
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2 บทที่ 8 | มุม
5. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายเกี่ยวกับการหา
ขนาดของมุมกลับ หน้า 127 แล้วร่วมกันอภิปรายว่า
สามารถหาวิธีวัดขนาดของมุมกลับด้วยวิธีอื่นได้หรือไม่
อย่างไร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันทำากิจกรรม หน้า 127
แล้วทำาแบบฝึกหัด 8.8 เป็นรายบุคคล
6. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
ให้นักเรียนทำากิจกรรมหน้า 128 เป็นรายบุคคล
ความรู้เสริม
1. มุมที่มีขนาดเท่ากัน แขนของมุมอาจยาวไม่เท่ากัน
D
A
215
315
B C E F 300
270
2. มุมที่มีขนาดเดียว ได้แก่ มุมศูนย์ มีขนาด 0 มุมฉาก
ำ
มีขนาด 90 และมุมตรง มีขนาด 180 มุมที่มีหลายขนาด
ำ
ำ
ำ
ได้แก่ มุมแหลม ซึ่งมีขนาดมากกว่า 0 แต่น้อยกว่า 90 ำ
ำ
ำ
มุมป้าน ซึ่งมีขนาดมากกว่า 90 แต่น้อยกว่า 180 และ
ำ
มุมกลับ ซึ่งมีขนาดมากกว่า 180 แต่น้อยกว่า 360 ำ
3. การหาขนาดของมุมกลับอาจใช้วิธีที่ต่างจากหน้า 127 m(ABC) = 102 ํ
ABC เปนมุมปาน
เช่น เพราะมีขนาดมากกวา 90 ํ แตนอยกวา 180 ํ
m(DMF) = 300 ํ
DMF เปนมุมกลับ
T T เพราะมีขนาดมากกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ
m(FPG) = 90 ํ FPG เปนมุมฉาก
เพราะมีขนาดเทากับ 90 ํ
m(PFG) = 52 ํ และ m(PGF) = 38 ํ
N 2 N PFG และ PGF เปนมุมแหลม
เพราะมีขนาดมากกวา 0 ํ แตนอยกวา 90 ํ
R K 1 R
จากรูป TNR เป็นมุมกลับ ลากรังสี NK เพื่อแบ่ง TNR เป็น 90 ํ มุมทุกมุมที่มี มุมทุกมุมที่มี 180 ํ มุมทุกมุมที่มี
ขนาดมากกวา 0 ํ ขนาดมากกวา 90 ํ ขนาดมากกวา 180 ํ
1 และ 2 โดยให้ 1 เป็นมุมตรง มีขนาด 180 ำ
แตนอยกวา 90 ํ แตนอยกวา 180 ํ แตนอยกวา 360 ํ
แล้ววัดขนาด 2 โดยใช้โพรแทรกเตอร์ ได้ 60
ำ
ดังนั้น m(TNR) = 180 + 60 = 240 ำ
86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี