Page 27 - บทที่4-60
P. 27

มีผลท าให้เกิดการส่งสัญญาณประสาทที่ผิดปกติจากการที่มี autoantibodies ไปจับกับโปรตีนซึ่งท าหน้าที่

               เกี่ยวกับ signaling นอกจากนี้ยังมีขบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ไดแก่ การท าลายที่บริเวณ synaptic

               membrane จาก complement system มีผลท าให้ synaptic membrane มีลักษณะผิดปกติเกิดการลดลงของ

               surface area ส่งผลให้ปริมาณของ receptor ลดลงตามล าดับ




































                               รูปแสดงพยาธิสภาพของโรค Myasthenia gravis แหล่งที่มา http://flipper.diff.org

                       มีหลักฐานทางพยาธิก าเนิดของโรคพบว่ามีความสัมพันธ์กับต่อมไทมัสโดยต่อมไทมัสมีลักษณะ

               hyperplasia ของ lymphocyte tissue  ทั้งในชั้น cortex และ medulla และยังมีการพบเนื้องอกของต่อม

               เรียกว่า Thymoma ร่วมด้วย


                       ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนแรงและอาการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อลาย ได้แก่

               กล้ามเนื้อในการกลอกตา กล้ามเนื้อการกลืน กล้ามเนื้อในการออกเสียง กล้ามเนื้อต้นคอ ต าแหน่งของ

               กล้ามเนื้อลายมักเป็นต าแหน่งส่วนต้น (Proximal part) อาจพบว่ามีกล้ามเนื้อฝ่อลีบได้ประมาณ 10-20%

               โดยพบที่กล้ามเนื้อ masseter, tempolaris, facial และกล้ามเนื้อลิ้นซึ่งมีลักษณะที่เรียกว่า Triple furrow

               tongue โดยอาการอ่อนแรงจะมีลักษณะอ่อนแรงเมื่อมีการใช้งานเพิ่มมากขึ้นซึ่งมักเป็นช่วงบ่ายๆ ของวัน

               และอาการจะดีขึ้นเมื่อได้พัก ไม่มีการสูญเสียการรับความรู้สึก ลักษณะการด าเนินโรคอาจดีขึ้นหรือแย่ลง






                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32